เค้า
ภาษาไทย
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | เค้า | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | káo |
ราชบัณฑิตยสภา | khao | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kʰaw˦˥/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
แก้ไขคำนาม
แก้ไขเค้า
- สิ่งที่เป็นเครื่องกำหนดหมายบอกให้รู้
- ฝนตั้งเค้า
- สิ่งที่ส่อแสดงให้รู้ได้ว่ามีลักษณะเหมือนสิ่งอื่น
- นาย ก มีเค้าหน้าเหมือนนาย ข
- ต้นเงื่อน
- ต้นเค้า
- รูปหรือรูปความโดยย่อ
- เขียนพอให้เห็นเป็นเค้า
- ร่องรอย
- พอได้เค้า
- (ล้าสมัย) เหง้า
- โคตรเค้าเหล่ากอ
รากศัพท์ 2
แก้ไขคำสรรพนาม
แก้ไขเค้า
รากศัพท์ 3
แก้ไขคำนาม
แก้ไขเค้า
- ตัวเงินหรือวัตถุที่ใช้แทนตัวเงิน เช่นเมล็ดมะขามเป็นต้นที่เป็นทุนซึ่งตั้งไว้สำหรับเล่นในบ่อนการพนันบางชนิด เรียกผู้ถือต้นทุนในการพนันว่า ถุงเค้า
รากศัพท์ 4
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ɡawꟲ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ເຄົ້າ (เค็้า), ภาษาไทใหญ่ ၵဝ်ႉ (ก๎ว), ภาษาพ่าเก ကွ် (เกา), ภาษาไทใต้คง ᥐᥝᥳ (เก๎า), ภาษาไทดำ ꪹꪁ꫁ꪱ (เก้̱า), ภาษาอาหม 𑜀𑜧 (กว์), ภาษาจ้วง gaeux meuz (เก้าแมว, “เค้าแมว”), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง due kaeux (ตัวเค้า, “เค้าแมว”)
คำนาม
แก้ไขเค้า
- ชื่อนกหลายชนิดในวงศ์ Strigidae ขนนุ่ม หัวใหญ่ ตาโต ตัวลาย ออกหากินเวลากลางคืน กลางวันหลบพักผ่อนตามต้นไม้ มีหลายชนิด
รากศัพท์ 5
แก้ไขแผลงมาจาก เขา
คำสรรพนาม
แก้ไขเค้า
ภาษาคำเมือง
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไข- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /kaw˦˥/
คำคุณศัพท์
แก้ไขเค้า
- อีกรูปหนึ่งของ ᨣᩮᩢ᩶ᩤ (เคั้า)
ภาษาปักษ์ใต้
แก้ไขรูปแบบอื่น
แก้ไข- (ตามนิรุกติศาสตร์) เขา
การออกเสียง
แก้ไข- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /kʰaw˦˥/
- เทียบเสียงภาษาไทยโดยประมาณ: เค้า
คำสรรพนาม
แก้ไขเค้า