ภาษาไทย แก้ไข

รูปแบบอื่น แก้ไข

รากศัพท์ แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *m.lɯːlᴮ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨾᩨ᩠᩵ᨶ (มื่น), ภาษาเขิน ᨾᩨ᩠᩵ᨶ (มื่น), ภาษาลาว ມື່ນ (มื่น), ภาษาอีสาน มื่น, ภาษาไทลื้อ ᦙᦹᧃᧈ (มื่น), ภาษาไทใหญ่ မိုၼ်ႈ (มึ้น), ภาษาอาหม 𑜉𑜢𑜤𑜃𑜫 (มึน์), ภาษาแสก หมรื้นภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง lwenq(ลื่น ราบ),laenq(ลื่นหกล้ม กลิ้ง), ภาษาจ้วง lwenq

การออกเสียง แก้ไข

การแบ่งพยางค์ลื่น
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงlʉ̂ʉn
ราชบัณฑิตยสภาluen
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/lɯːn˥˩/(สัมผัส)

คำกริยา แก้ไข

ลื่น (คำอาการนาม การลื่น)

  1. เคลื่อนที่ไปบนพื้นที่มีความฝืดน้อยด้วยความเร็วจนควบคุมหรือยั้งไม่ได้, ลื่นไถล ก็ว่า
    เขาลื่นหกล้ม
    ลูกแก้วลื่นไปตามราง

คำคุณศัพท์ แก้ไข

ลื่น (คำอาการนาม ความลื่น)

  1. ลักษณะผิวที่เป็นมันมีความฝืดน้อย
    ถนนลื่น
    ทาน้ำมันเสียตัวลื่น
  2. โดยปริยายหมายความว่า มีลักษณะคล่อง พลิกแพลง เอาตัวรอดได้โดยไม่ติดขัด
    เจ้าหมอนั่นมันลื่นสนิทเลย

คำสืบทอด แก้ไข

  • ลาว: ລ່ຽນ (ล่ย̂น)