กลอน
ภาษาไทย
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | กฺลอน | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | glɔɔn |
ราชบัณฑิตยสภา | klon | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /klɔːn˧/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *klɔːnᴬ²; เทียบภาษาจีนเก่า 關 (OC *kroːn); ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨠᩖᩬᩁ (กลอร), ภาษาลาว ກອນ (กอน), ภาษาไทลื้อ ᦂᦸᧃ (กอ̂น), ภาษาไทใหญ่ ၵွၼ် (กอ̂น, “ไม้พาดหลังคา”), ภาษาพ่าเก ကွꩫ် (กอ̂น์, “ไม้พาดหลังคา”), ภาษาอาหม 𑜀𑜨𑜃𑜫 (กอ̂น์, “ไม้พาดหลังคา”), ภาษาจ้วง gyon, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง gyon
คำนาม
แก้ไขกลอน (คำลักษณนาม ตัว หรือ อัน)
ลูกคำ
แก้ไขรากศัพท์ 2
แก้ไขร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨠᩖᩬᩁ (กลอร), ภาษาลาว ກອນ (กอน), ภาษาไทลื้อ ᦂᦸᧃ (กอ̂น)
คำนาม
แก้ไขกลอน (คำลักษณนาม บท)
- คำประพันธ์ประเภทหนึ่ง ไม่รวมกับประเภทโคลง กาพย์ ฉันท์
- เดิมเรียกคำเรียงที่มีสัมผัสทั่วไป จะเป็นโคลง ฉันท์ กาพย์ หรือร่าย ก็ตาม
- ชุมนุมตำรากลอน
ลูกคำ
แก้ไขรากศัพท์ 3
แก้ไขคำนาม
แก้ไขกลอน (คำลักษณนาม ลูก)