โหม่ง
ภาษาไทย
แก้ไขรากศัพท์ 1
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | โหฺม่ง | หฺม่ง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | mòong | mòng |
ราชบัณฑิตยสภา | mong | mong | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /moːŋ˨˩/(สัมผัส) | /moŋ˨˩/(สัมผัส) |
คำกริยา
แก้ไขโหม่ง (คำอาการนาม การโหม่ง)
- เอาหัวรับหรือกระแทกลูกตะกร้อหรือฟุตบอลเป็นต้น
- โดยปริยายหมายถึงอาการที่สิ่งหนึ่งตกลงมากระแทกพื้นอย่างแรง
- หัวโหม่งพื้น
- เครื่องบินโหม่งโลก
รากศัพท์ 2
แก้ไขจากภาษามอญ မံၚ် (มํง์, “ฆ้อง”)[1]
การออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | โหฺม่ง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | mòong |
ราชบัณฑิตยสภา | mong | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /moːŋ˨˩/(สัมผัส) |
คำนาม
แก้ไขโหม่ง
ภาษาปักษ์ใต้
แก้ไขคำนาม
แก้ไขโหม่ง
คำอนุภาค
แก้ไขโหม่ง
- ↑ ศิขรินทร์ แสงเพชร. "คำยืมภาษามอญในกฎหมายตราสามดวง". ภาษาไทยและวัฒนธรรมไทย ๒๑๖. ฉบับที่ ๒, ปีที่ ๑, ธันวาคม ๒๕๕๐ - พฤษภาคม ๒๕๕๑.