ภาษาไทย

แก้ไข

รากศัพท์ 1

แก้ไข

ยืมมาจากภาษาบาลี มงฺคล หรือภาษาสันสกฤต मङ्गल (มงฺคล)

รูปแบบอื่น

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์มง-คน[เสียงสมาส]
มง-คน-ละ-
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงmong-konmong-kon-lá-
ราชบัณฑิตยสภาmong-khonmong-khon-la-
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/moŋ˧.kʰon˧/(สัมผัส)/moŋ˧.kʰon˧.la˦˥./

คำนาม

แก้ไข

มงคล

  1. (ศาสนาพุทธ) เหตุที่นำมาซึ่งความเจริญ
    มงคล 38 ประการ
  2. สิ่งซึ่งถือว่าจะนำสิริและความเจริญมาสู่และป้องกันไม่ให้สิ่งที่เลวร้ายมากล้ำกราย
  3. สิ่งที่ทำเป็นวงด้วยด้ายเป็นต้นสำหรับสวมศีรษะเพื่อเป็นสิริมงคล นิยมใช้เฉพาะในเวลาชกมวยไทยหรือตีกระบี่กระบอง

คำคุณศัพท์

แก้ไข

มงคล

  1. ที่จัดขึ้นเพื่อความอยู่เย็นเป็นสุข
    งานมงคล
  2. ที่เชื่อว่าจะนำความสุขความเจริญเป็นต้นมาให้
    วัตถุมงคล
คำตรงข้าม
แก้ไข
ลูกคำ
แก้ไข

คำวิสามานยนาม

แก้ไข

มงคล

  1. ชื่อบุคคลชาย
การใช้
แก้ไข

ชื่อนี้เป็นหนึ่งในชื่อคนไทยที่ใช้ซ้ำกันมากที่สุด[1]

รากศัพท์ 2

แก้ไข

ยืมโดยเรียนรู้จากภาษามองโกเลียคลาสสิก ᠮᠣᠩᠭᠣᠯ (moŋɣol)

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์มง-คน
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงmong-kon
ราชบัณฑิตยสภาmong-khon
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/moŋ˧.kʰon˧/(สัมผัส)

คำนาม

แก้ไข

มงคล

  1. รูปที่เลิกใช้ของ มองโกล

อ้างอิง

แก้ไข