ดูเพิ่ม: นก, นก., นั่ก, และ นึก

ภาษาไทย

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์นัก
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงnák
ราชบัณฑิตยสภาnak
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/nak̚˦˥/(สัมผัส)
คำพ้องเสียงนัข
นัค

รากศัพท์ 1

แก้ไข

ยืมมาจากภาษาเขมรเก่า ʼnaka, ʼanaka, ʼnak, naka, nãka, nâka, naga; ร่วมเชื้อสายกับภาษาเขมร អ្នក (อฺนก), នាក់ (นาก̍)

คำนาม

แก้ไข

นัก

  1. ใช้ประกอบหน้าคำอื่นหมายความว่า ผู้
  2. ใช้ประกอบหน้าคำอื่นหมายความว่า ผู้ชอบ
    นักดื่ม
    นักท่องเที่ยว
  3. ใช้ประกอบหน้าคำอื่นหมายความว่า ผู้ชำนาญ
    นักเทศน์
    นักดนตรี
    นักคำนวณ
    นักสืบ
  4. ใช้ประกอบหน้าคำอื่นหมายความว่า ผู้มีอาชีพในทางนั้น
    นักกฎหมาย
    นักแสดง
    นักเขียน

รากศัพท์ 2

แก้ไข

ยืมมาจากเขมรเก่าสมัยก่อนอังกอร์ ʼnak, ʼnakk, ʼanak, หรือเขมรเก่าสมัยอังกอร์ ʼnak, ʼanak, ʼnakk, ʼnāk, ʼnāka, nāk, nākk, nakk

คำนาม

แก้ไข

นัก

  1. (โบราณ) คำนำหน้าพระนามเชื้อพระวงศ์ของเขมร ซึ่งเป็นชายหรือหญิงก็ได้

การใช้

แก้ไข

สามารถใช้เดี่ยว ๆ หรือใช้คู่กับคำนำหน้าอื่น เช่น นักนาง นักพระ นักพระองค์ นักองค์ ปัจจุบันไม่มีการใช้แล้ว

รากศัพท์ 3

แก้ไข

ไม่ทราบแน่ชัด; เทียบภาษาลาว ນັກ (นัก)

คำกริยาวิเศษณ์

แก้ไข

นัก

  1. อย่างยิ่ง, มากหรือหนักไปในทางใดทางหนึ่ง
    หนาวนัก
    ร้อนนัก

ภาษาคำเมือง

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข

รากศัพท์ 1

แก้ไข

คำคุณศัพท์

แก้ไข

นัก (คำอาการนาม กำนัก หรือ ความนัก)

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨶᩢ᩠ᨠ (นัก)

คำกริยาวิเศษณ์

แก้ไข

นัก (คำอาการนาม กำนัก หรือ ความนัก)

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨶᩢ᩠ᨠ (นัก)

รากศัพท์ 2

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

นัก

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨶᩢ᩠ᨠ (นัก)