ดูเพิ่ม: , ข., ขี้, ขู, และ ขู่

ภาษาไทย

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *kʰwiːᴮ, จากจีนยุคกลาง (MC gje)[1]; ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᨡᩦ᩵ (ขี่), ลาว ຂີ່ (ขี่), เขิน ᨡᩦ᩵ (ขี่), ไทลื้อ ᦃᦲᧈ (ฃี่), ไทดำ ꪄꪲ꪿ (ฃิ่), ไทใหญ่ ၶီႇ (ขี่), ไทใต้คง ᥑᥤᥱ (ฃี่), อาหม 𑜁𑜣 (ขี), จ้วง gwih, จ้วงแบบหนง kiq

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์ขี่
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงkìi
ราชบัณฑิตยสภาkhi
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/kʰiː˨˩/(สัมผัส)

คำกริยา

แก้ไข

ขี่ (คำอาการนาม การขี่)

  1. นั่งเอาขาคร่อม
  2. โดยปริยายหมายถึงนั่งไปในยานพาหนะ
  3. ขับ (ใช้กับรถยนต์)[2]
    เขาขี่เบ๊นซ์รุ่นใหม่โก้เชียว
  4. ขึ้น, นั่ง, โดยสาร (ใช้กับรถยนต์ เครื่องบิน เป็นต้น)[2]
    ฉันขี่ซีอาร์วีของเพื่อนกลับบ้านทุกวัน
    เขาขี่เรือบินไปเชียงใหม่เป็นว่าเล่น

คำเกี่ยวข้อง

แก้ไข

คำแปลภาษาอื่น

แก้ไข

อ้างอิง

แก้ไข
  1. Pittayaporn, Pittayawat (2014), chapter Layers of Chinese Loanwords in Proto-Southwestern Tai as Evidence for the Dating of the Spread of Southwestern Tai, in MANUSYA: Journal of Humanities, volume 20 (special issue), Bangkok: Chulalongkorn University, ISSN 0859-9920, pages 47–68.
  2. 2.0 2.1 ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมคำใหม่ เล่ม 1 ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ธนาเพรส, 2553. หน้า 22.