ภาษาไทใหญ่ แก้ไข

รากศัพท์ แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *kʰwiːᴮ, จากภาษาจีนยุคกลาง (MC gje)[1]; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ขี่, ภาษาคำเมือง ᨡᩦ᩵ (ขี่), ภาษาลาว ຂີ່ (ขี่), ภาษาเขิน ᨡᩦ᩵ (ขี่), ภาษาไทลื้อ ᦃᦲᧈ (ฃี่), ภาษาไทดำ ꪄꪲ꪿ (ฃิ่), ภาษาอาหม 𑜁𑜣 (ขี), ภาษาจ้วง gwih

การออกเสียง แก้ไข

คำกริยา แก้ไข

ၶီႇ (ขี่) (คำอาการนาม လွင်ႈၶီႇ)

  1. (สกรรม) ขี่
    ၶီႇရူတ်ႉၵႃးမႃးၸွမ်းၵၼ် 6 ၵေႃႉ
    ขี่รู๎ตก๊าม๊าจ๊อ̂มกัน 6 ก๎อ̂
    ขี่รถมาด้วยกัน 6 คน

อ้างอิง แก้ไข

  1. Pittayaporn, Pittayawat (2014), chapter Layers of Chinese Loanwords in Proto-Southwestern Tai as Evidence for the Dating of the Spread of Southwestern Tai, in MANUSYA: Journal of Humanities, volume 20 (special issue), Bangkok: Chulalongkorn University, ISSN 0859-9920, pages 47–68.