หวาน
ภาษาไทย
แก้ไข💡️ เคยเสนอใน “รู้ไหมว่า”
การออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | หฺวาน | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | wǎan |
ราชบัณฑิตยสภา | wan | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /waːn˩˩˦/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
แก้ไขสืบทอดจากไทดั้งเดิม *C̥.waːlᴬ; ร่วมเชื้อสายกับคำเมือง ᩉ᩠ᩅᩣ᩠ᨶ (หวาน), เขิน ᩉ᩠ᩅᩣ᩠ᨶ (หวาน), ลาว ຫວານ (หวาน), ไทลื้อ ᦛᦱᧃ (หฺวาน), ไทใหญ่ ဝၢၼ် (วาน), ไทใต้คง ᥝᥣᥢᥴ (ว๋าน), พ่าเก ဝꩫ် (วน์), อาหม 𑜈𑜃𑜫 (บน์), จ้วง van, แสก หว่าน; เทียบสุ่ย faanl, ต้งใต้ kuanp
คำคุณศัพท์
แก้ไขหวาน (คำอาการนาม ความหวาน)
- มีรสอย่างรสน้ำตาล
- เพราะ
- หวานหู
- เสียงหวาน
- ชุ่มชื่น, ที่รัก
- หวานใจ
- น่ารักชวนมอง
- หน้าหวาน
- อ่อนสดใส ในคำว่า สีหวาน
- (ภาษาปาก, ขำขัน) ที่ทำได้ง่าย, ที่ทำได้สะดวก
- เลขข้อนี้หวานมาก
คำแปลภาษาอื่น
แก้ไขมีรสอย่างรสน้ำตาล
คำกริยา
แก้ไขหวาน
ลูกคำ
แก้ไข- เกลียวหวาน
- ขนมหวาน
- ของหวาน
- เขียวหวาน
- ไข่หวาน
- ช้อนหวาน
- ตาหวาน
- น้ำปลาหวาน
- เบาหวาน
- ปากหวาน
- ปากหวานก้นเปรี้ยว
- เปรี้ยวหวาน
- ฝันหวาน
- พริกหวาน
- มวนหวาน
- ยี่หร่าหวาน
- เสียงหวาน
- เสียงอ่อนเสียงหวาน
- หมากหน้าหวาน
- หวานคอแร้ง
- หวานใจ
- หวานนอกขมใน
- หวานเป็นลม ขมเป็นยา
- หวานเย็น
- หวานลิ้นกินตาย
- หวานหมู
- หวานอมขมกลืน
- อดเปรี้ยวไว้กินหวาน
- อ่อนหวาน
- อาหารหวาน
รากศัพท์ 2
แก้ไขคำนาม
แก้ไขหวาน