ภาษาเขิน แก้ไข

รากศัพท์ แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *C̥.waːlᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย หวาน, ภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᩅᩣ᩠ᨶ (หวาน), ภาษาลาว ຫວານ (หวาน), ภาษาไทใหญ่ ဝၢၼ် (วาน), ภาษาไทใต้คง ᥝᥣᥢᥴ (ว๋าน), ภาษาพ่าเก ဝꩫ် (วน์), ภาษาอาหม 𑜈𑜃𑜫 (บน์), ภาษาจ้วง van, ภาษาแสก หว่าน

การออกเสียง แก้ไข

คำคุณศัพท์ แก้ไข

ᩉ᩠ᩅᩣ᩠ᨶ (หวาน) (คำอาการนาม ᨣ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᩉ᩠ᩅᩣ᩠ᨶ)

  1. หวาน

ภาษาคำเมือง แก้ไข

รากศัพท์ แก้ไข

  • (ถอดอักษรและถอดเสียง) หวาน

การออกเสียง แก้ไข

รากศัพท์ 1 แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *C̥.waːlᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย หวาน, ภาษาเขิน ᩉ᩠ᩅᩣ᩠ᨶ (หวาน), ภาษาลาว ຫວານ (หวาน), ภาษาไทลื้อ ᦛᦱᧃ (หฺวาน), ภาษาไทใหญ่ ဝၢၼ် (วาน), ภาษาไทใต้คง ᥝᥣᥢᥴ (ว๋าน), ภาษาพ่าเก ဝꩫ် (วน์), ภาษาอาหม 𑜈𑜃𑜫 (บน์), ภาษาจ้วง van, ภาษาแสก หว่าน

คำคุณศัพท์ แก้ไข

ᩉ᩠ᩅᩣ᩠ᨶ (หวาน) (คำอาการนาม ᨣᩤᩴᩉ᩠ᩅᩣ᩠ᨶ หรือ ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᩉ᩠ᩅᩣ᩠ᨶ)

  1. หวาน
  2. อร่อย
  3. (คำพูด) เพราะ
  4. สนุกสนาน

รากศัพท์ 2 แก้ไข

เป็นไปได้ว่าเคยสะกด *ᩉ᩠ᩅ᩶ᩣ᩠ᨶ (หว้าน); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ว่าน, ภาษาเขิน ᩅ᩵ᩤ᩠ᨶ (ว่าน), ภาษาอีสาน หว้าน หรือ ว่าน, ภาษาลาว ຫວ້ານ (หว้าน) หรือ ວ່ານ (ว่าน), ภาษาไทลื้อ ᦛᦱᧃᧉ (หฺว้าน)

คำนาม แก้ไข

ᩉ᩠ᩅᩣ᩠ᨶ (หวาน)

  1. ว่าน