ภาษาไทยแก้ไข

รากศัพท์แก้ไข

จากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ʔɔːnᴮ¹, จากภาษาไทดั้งเดิม *ʔwuːnᴮ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ອ່ອນ (อ่อน), ภาษาไทลื้อ ᦀᦸᧃᧈ (อ่อ̂น), ภาษาไทใหญ่ ဢွၼ်ႇ (อ่อ̂น) หรือ ဢူၼ်ႈ (อู้น), ภาษาอาหม 𑜒𑜨𑜃𑜫 (ออ̂น์) หรือ 𑜒𑜤𑜃𑜫 (อุน์), ภาษาจ้วง unq หรือ onq, ภาษาจ้วงแบบหนง oanq, ภาษาแสก อูน

การออกเสียงแก้ไข

การแบ่งพยางค์
{ไม่ตามอักขรวิธี; เสียงสระสั้น}
อ่อนอ็่อน
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงɔ̀ɔnɔ̀n
ราชบัณฑิตยสภาonon
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/ʔɔːn˨˩/(สัมผัส)/ʔɔn˨˩/(สัมผัส)

คำคุณศัพท์แก้ไข

อ่อน (คำอาการนาม ความอ่อน)

  1. ไม่กระด้าง
    ลิ้นอ่อน
  2. นิ่ม
    เนื้ออ่อน
  3. ไม่จัด
    แดดอ่อน
  4. ไม่แข็ง, ยอมง่าย ๆ, รู้สึกสงสาร
    ใจอ่อน
  5. ไม่แก่
    มะพร้าวอ่อน
  6. หย่อน
    อ่อนเค็ม
  7. น้อย
    เหลืองอ่อน
  8. ไม่แรง
    ไฟอ่อน
  9. อายุยังน้อย
    ไก่อ่อน
  10. ยังเล็กอยู่
    เด็กอ่อน
  11. ละมุนละม่อม
  12. ดัดง่าย, เปลี่ยนแปลงง่าย

คำกริยาแก้ไข

อ่อน (คำอาการนาม การอ่อน)

  1. ไร้ประสบการณ์, ไม่มีฝีมือ
    นักเขียนคนนี้ฝีมือยังอ่อนอยู่
  2. ไม่เก่ง
    เด็กคนนี้อ่อนคณิตศาสตร์
  3. มีค่าต่ำ เมื่อเทียบกับสกุลเงินอื่น (ใช้แสดงค่าเงิน)
    เงินบาทตอนนี้อ่อน อย่าเพิ่งสั่งสินค้าจากต่างประเทศเลย