ท้าว
ภาษาไทย
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | ท้าว | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | táao |
ราชบัณฑิตยสภา | thao | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /tʰaːw˦˥/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง | เท้า |
รากศัพท์ 1
แก้ไขร่วมเชื้อสายกับลาว ທ້າວ (ท้าว), ไทลื้อ ᦑᦱᧁᧉ (ท้าว), พ่าเก တွ် (เตา), เขมร ទាវ (ทาว), มอญ ဒဴ (เทา)
วิไลวรรณ ขนิษฐานันท์ (2546) เสนอว่ามาจากจีน 道 (“ย่อมาจาก 道士 “นักบวชเต๋า””)[1]; เทียบเวียดนาม đạo sĩ (“นักบวชเต๋า”), đạo, tạo, phìa tạo (“ผู้ปกครองชาวไท”), ตั่ย tạo (“นักบวชคล้ายกับนักบวชเต๋า”).[2]
คำนาม
แก้ไขท้าว
- ผู้เป็นใหญ่, พระเจ้าแผ่นดิน (โดยมากใช้ในบทกลอน)
- ท้าวยศวิมล
- ตำแหน่งหญิงอาวุโส ซึ่งเป็นเจ้าจอม เจ้าจอมมารดาในรัชกาลก่อนหรือหญิงราชนิกุลซึ่งพระเจ้าแผ่นดินโปรดเกล้าฯ ตั้งไว้ในตำแหน่งสำหรับดูแลราชกิจฝ่ายในพระราชวัง, ภาษาปากว่า คุณท้าว นางท้าว
- ท้าวทรงกันดาล
- ท้าวสมศักดิ์
อ้างอิง
แก้ไขรากศัพท์ 2
แก้ไขคำกริยาวิเศษณ์
แก้ไขท้าว
ภาษาอีสาน
แก้ไขคำนาม
แก้ไขท้าว