อาคม
ภาษาไทย
แก้ไขรากศัพท์
แก้ไขยืมมาจากภาษาสันสกฤต आगम ช. (อาคม, “การมาถึง”), จากภาษาบาลี อาคม
การออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | อา-คม | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | aa-kom |
ราชบัณฑิตยสภา | a-khom | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /ʔaː˧.kʰom˧/(สัมผัส) |
คำนาม
แก้ไขอาคม
- เวทมนตร์
- การมา, การมาถึง (มักใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส)
- (ไวยากรณ์) หน่วยคำเติมที่แทรกลงในระหว่างกลางคำเพื่อให้เกิดความหมายหรือวจีวิภาคใหม่
คำเกี่ยวข้อง
แก้ไขดูเพิ่ม
แก้ไขภาษาบาลี
แก้ไขรูปแบบอื่น
แก้ไขเขียนด้วยอักษรอื่น
รากศัพท์
แก้ไขอา + คม หรือ อา + คมฺ + อ; เทียบภาษาสันสกฤต आगम ช. (อาคม, “การมาถึง”)
คำนาม
แก้ไขอาคม ช.
การผันรูป
แก้ไขตารางการผันรูปของ "อาคม" (เพศชาย)
การก \ พจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
กรรตุการก (ปฐมา) | อาคโม | อาคมา |
กรรมการก (ทุติยา) | อาคมํ | อาคเม |
กรณการก (ตติยา) | อาคเมน | อาคเมหิ หรือ อาคเมภิ |
สัมปทานการก (จตุตถี) | อาคมสฺส หรือ อาคมาย หรือ อาคมตฺถํ | อาคมานํ |
อปาทานการก (ปัญจมี) | อาคมสฺมา หรือ อาคมมฺหา หรือ อาคมา | อาคเมหิ หรือ อาคเมภิ |
สัมพันธการก (ฉัฏฐี) | อาคมสฺส | อาคมานํ |
อธิกรณการก (สัตตมี) | อาคมสฺมิํ หรือ อาคมมฺหิ หรือ อาคเม | อาคเมสุ |
สัมโพธนการก (อาลปนะ) | อาคม | อาคมา |