ย่อม
ภาษาไทย
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ {ไม่ตามอักขรวิธี; เสียงสระสั้น} | ย็่อม | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | yɔ̂m |
ราชบัณฑิตยสภา | yom | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /jɔm˥˩/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
แก้ไขร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຍ່ອມ (ย่อม), ภาษาคำเมือง ᨿᩬ᩵ᨾ (ยอ่ม), ภาษาไทใหญ่ ယွမ်ႈ (ย้อ̂ม)
คำคุณศัพท์
แก้ไขย่อม (คำอาการนาม ความย่อม)
- มีขนาดเล็กกว่าเมื่อเทียบกัน
- เนื้อชิ้นนี้ขนาดย่อมกว่าอีกชิ้น
- เบา, ถูกลง, ใช้ แก่ราคา
- หาซื้อหนังสือราคาย่อมกว่านี้หน่อย
- ลดลง, หย่อนลง
รากศัพท์ 2
แก้ไขร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຍ່ອມ (ย่อม), ภาษาคำเมือง ᨿᩬ᩵ᨾ (ยอ่ม)
คำกริยาวิเศษณ์
แก้ไขย่อม
คำแปลภาษาอื่น
แก้ไขภาษาคำเมือง
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไข- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /ɲɔm˦˨/
รากศัพท์ 1
แก้ไขคำกริยา
แก้ไขย่อม (คำอาการนาม การย่อม)
คำคุณศัพท์
แก้ไขย่อม (คำอาการนาม คำย่อม หรือ ฅวามย่อม)
- อีกรูปหนึ่งของ ᨿᩬ᩵ᨾ (ยอ่ม)
รากศัพท์ 2
แก้ไขคำกริยาวิเศษณ์
แก้ไขย่อม
- อีกรูปหนึ่งของ ᨿᩬ᩵ᨾ (ยอ่ม)