ดูเพิ่ม: งัว, งั่ว, และ งั๊ว

ภาษาไทย แก้ไข

การออกเสียง แก้ไข

การแบ่งพยางค์งิ้ว
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงngíu
ราชบัณฑิตยสภาngio
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/ŋiw˦˥/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1 แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ŋiːwꟲ⁴ (Jonsson, 1991); ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨦᩥ᩠᩶ᩅ (งิ้ว), ภาษาเขิน ᨦᩦ᩠᩶ᩅ (งี้ว), ภาษาอีสาน งิ้ว, ภาษาลาว ງີ້ວ (งี้ว), ภาษาไทลื้อ ᦇᦲᧁᧉ (งี้ว) หรือ ᦓᦲᧁᧉ (นี้ว), ภาษาไทใหญ่ ၼိဝ်ႉ (นิ๎ว), ภาษาไทใต้คง ᥘᥤᥝᥳ (ลี๎ว) หรือ ᥢᥤᥝᥳ (นี๎ว), ภาษาพ่าเก ꩫိဝ် (นิว์)

รูปแบบอื่น แก้ไข

คำนาม แก้ไข

งิ้ว

  1. ชื่อไม้ต้นขนาดใหญ่ชนิด Bombax ceiba L. ในวงศ์ Bombacaceae กิ่งก้านและลำต้นมีหนามแหลมคม เปลือกสีเทา ขรุขระ ดอกสีแดงสด ใช้ปุยในผลอย่างเดียวกับง้าว

รากศัพท์ 2 แก้ไข

ยืมมาจากภาษาห่อยซัน (yiu1, นักแสดง)[1]

คำนาม แก้ไข

งิ้ว

  1. ละครจีนแบบโบราณ

อ้างอิง แก้ไข