ภาษาไทย

แก้ไข

รูปแบบอื่น

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *r.tɯəᴮ ซึ่ง /h/ กลายเป็น /ʰŋ/; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩉᩮᩬᩥ᩵ᩋ (เหอิ่อ), ภาษาลาว ເຫື່ອ (เหื่อ), ภาษาไทขาว ꪹꪬꪷ꪿, ภาษาไทใหญ่ ႁိူဝ်ႇ (เหิ่ว), ภาษาไทใต้คง ᥞᥫᥱ (เห่อ̂), ภาษาอาหม 𑜍𑜢𑜤𑜈𑜫 (รึว์), ภาษาจ้วง hwq (หื่อ), ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง hweq (เหื่อ), ภาษาจ้วงแบบหนง towq หรือ tuiq; เทียบภาษาเขมร ញើស (เญิส)

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์เหฺงื่อ
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงngʉ̀ʉa
ราชบัณฑิตยสภาnguea
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/ŋɯa̯˨˩/(สัมผัส)

คำนาม

แก้ไข

เหงื่อ

  1. ของเหลวที่ร่างกายขับออกทางผิวหนัง
  2. หยดน้ำที่กลั่นตัวจากไอน้ำจับอยู่ที่ฝาภาชนะซึ่งปิดหรือที่ผิววัสดุซึ่งคลุมอยู่เป็นต้น

คำแปลภาษาอื่น

แก้ไข