ภาษาไทยแก้ไข

รากศัพท์แก้ไข

จากภาษาจีนยุคกลาง (MC deŋH); ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨴ᩠ᨿ᩵ᨦ (ทย่ง), ภาษาเขิน ᨴ᩠ᨿ᩵ᨦ (ทย่ง), ภาษาลาว ທ່ຽງ (ท่ย͢ง), ภาษาไทลื้อ ᦵᦑᧂᧈ (เท่ง), ภาษาไทใหญ่ တဵင်ႈ (เต้ง), ภาษาอาหม 𑜄𑜢𑜂𑜫 (ติง์), ภาษาจ้วงแบบหนง dingh หรือ dingq, ภาษาแสก เถี้ยง

การออกเสียงแก้ไข

การแบ่งพยางค์เที่ยง
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงtîiang
ราชบัณฑิตยสภาthiang
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/tʰia̯ŋ˥˩/(สัมผัส)

คำคุณศัพท์แก้ไข

เที่ยง (คำอาการนาม ความเที่ยง)

  1. ตรง
    นาฬิกาเดินเที่ยง
  2. แน่นอน
    สังขารไม่เที่ยง
  3. ที่สะท้อนตรงกับความเป็นจริง ในคำว่า กระจกเที่ยง
  4. แน่, แม่นยำ, ในคำว่า มือเที่ยง

คำนามแก้ไข

เที่ยง

  1. เรียกเวลากึ่งกลางของกลางวันที่พระอาทิตย์อยู่ตรงศีรษะว่า เที่ยง หรือ เที่ยงวัน ตรงกับ 12 นาฬิกา
  2. เรียกเวลากึ่งกลางของกลางคืนว่า เที่ยงคืน ตรงกับ 24 นาฬิกา หรือ 0 นาฬิกา