ภาษาเขิน

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง (MC dengH); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เที่ยง, ภาษาคำเมือง ᨴ᩠ᨿ᩵ᨦ (ทย่ง), ภาษาลาว ທ່ຽງ (ท่ย̂ง), ภาษาไทลื้อ ᦵᦑᧂᧈ (เท่ง), ภาษาไทใหญ่ တဵင်ႈ (เต้ง), ภาษาอาหม 𑜄𑜢𑜂𑜫 (ติง์), ภาษาจ้วงแบบหนง dingh หรือ dingq, ภาษาแสก เถี้ยง

การออกเสียง

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

ᨴ᩠ᨿ᩵ᨦ (ทย่ง)

  1. เที่ยง

คำคุณศัพท์

แก้ไข

ᨴ᩠ᨿ᩵ᨦ (ทย่ง) (คำอาการนาม ᨣ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᨴ᩠ᨿ᩵ᨦ)

  1. เที่ยง, มั่นคง, ยุติธรรม, ซื่อสัตย์

ภาษาคำเมือง

แก้ไข

รูปแบบอื่น

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

ยืมมาจากภาษาจีนยุคกลาง (MC dengH); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย เที่ยง, ภาษาเขิน ᨴ᩠ᨿ᩵ᨦ (ทย่ง), ภาษาลาว ທ່ຽງ (ท่ย̂ง), ภาษาไทลื้อ ᦵᦑᧂᧈ (เท่ง), ภาษาไทใหญ่ တဵင်ႈ (เต้ง), ภาษาอาหม 𑜄𑜢𑜂𑜫 (ติง์), ภาษาจ้วงแบบหนง dingh หรือ dingq, ภาษาแสก เถี้ยง

คำนาม

แก้ไข

ᨴ᩠ᨿ᩵ᨦ (ทย่ง)

  1. เที่ยง

คำคุณศัพท์

แก้ไข

ᨴ᩠ᨿ᩵ᨦ (ทย่ง) (คำอาการนาม ᨣᩤᩴᨴ᩠ᨿ᩵ᨦ หรือ ᨤ᩠ᩅᩣ᩠ᨾᨴ᩠ᨿ᩵ᨦ)

  1. เที่ยง, มั่นคง, ยุติธรรม, ซื่อสัตย์