ดูเพิ่ม: อา, อา., อำ, อ่า, และ อ๋า

ภาษาไทย

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์อ้า
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงâa
ราชบัณฑิตยสภาa
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/ʔaː˥˩/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1

แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ʔaːꟲ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทใหญ่ ဢႃႈ (อ้า), ภาษาจ้วง aj

คำกริยา

แก้ไข

อ้า (คำอาการนาม การอ้า)

  1. เปิด, แยกออก, แบะออก
    ปากอ้า
  2. ทำให้เปิด, ทำให้แยกออก, ทำให้แบะออก
    อ้าปาก

รากศัพท์ 2

แก้ไข
รากศัพท์นี้ขาดหายหรือไม่สมบูรณ์ กรุณาช่วยเพิ่มเติม หรืออภิปรายที่หน้าพูดคุย

คำอนุภาค

แก้ไข

อ้า

  1. คำออกเสียงขึ้นต้นประโยคในคำประพันธ์ ใช้ในความรำพึงหรือพรรณนาวิงวอนอย่างเดียวกับคำ โอ้ หรือ โอ้ว่า
    อ้าองค์สุริย์ศรีมีธรรมส่อง ปกครองอย่างทรงพระเมตตา
    อ้าองค์พระพุทธา ตัวข้าบุษบาขอกราบวิงวอน

ภาษาคำเมือง

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข

คำกริยา

แก้ไข

อ้า (คำอาการนาม ก๋ารอ้า หรือ ก๋านอ้า)

  1. (สกรรม) อีกรูปหนึ่งของ ᩋ᩶ᩣ (อ้า)