ดูเพิ่ม: อ.ม., อิม, อิ่ม, อืม, อุ้ม, และ อูม

ภาษาไทย

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ʔɤmᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩋᩫ᩠ᨾ (อ็ม), ภาษาเขิน ᩋᩫ᩠ᨾ (อ็ม), ภาษาลาว ອົມ (อ็ม), ภาษาไทลื้อ ᦷᦁᧄ (โอ̱ม), ภาษาไทใหญ่ ဢူမ် (อูม), ภาษาอาหม 𑜒𑜤𑜉𑜫 (อุม์), ภาษาจ้วง oem, ภาษาจ้วงแบบหนง umq

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์อม
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงom
ราชบัณฑิตยสภาom
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/ʔom˧/(สัมผัส)

คำกริยา

แก้ไข

อม (คำอาการนาม การอม)

  1. เอาสิ่งของใส่ปากแล้วหุบปากไว้ไม่กลืนลงไป
  2. โดยปริยายหมายความว่า ไม่แสดงออกมา
    อมภูมิ
  3. กลมกลืน, ปนกัน
    อมเปรี้ยวอมหวาน
    เขียวอมเหลือง
  4. (ภาษาปาก) เม้ม, ขมิบ, ยักเอาไว้
    อมเงิน
    อมของหลวง