หลัก
ภาษาไทย
แก้ไขรูปแบบอื่น
แก้ไข- (เลิกใช้) หลกก
การออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | หฺลัก | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | làk |
ราชบัณฑิตยสภา | lak | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /lak̚˨˩/(สัมผัส) |
รากศัพท์ 1
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ʰlakᴰ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩉᩖᩢᨠ (หลัก), ภาษาลาว ຫຼັກ (หลัก), ภาษาไทลื้อ ᦜᧅ (หฺลัก), ภาษาไทใหญ่ လၵ်း (ลั๊ก), ภาษาอาหม 𑜎𑜀𑜫 (ลก์), ภาษาแสก ลั๊ก, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง laek, ภาษาจ้วง laek
คำนาม
แก้ไขหลัก
- เสาที่ปักไว้, ที่ผูก, ที่มั่น
- เอาเรือไปผูกไว้กับหลัก
- เครื่องหมาย
- หลักเขต
- เครื่องยึดเหนี่ยว
- มีธรรมะเป็นหลักในการดำรงชีวิต
- เครื่องจับยึด
- หลักแจว
- สาระที่มั่นคง
- พูดจาไม่มีหลัก
- หลักกฎหมาย
- หลักเศรษฐศาสตร์
คำแปลภาษาอื่น
แก้ไขลูกคำ
แก้ไข- กาจับหลัก
- เข้าหลัก
- จับหลัก
- จำหลัก
- ตั้งหลัก
- ตั้งหลัก
- ปักหลัก
- เป็นหลักเป็นฐาน
- เป็นหลักเป็นแหล่ง
- ผมหลักแจว
- ผู้หลักผู้ใหญ่
- พยานหลักฐาน
- แม่สื่อแม่ชัก ไม่ได้เจ้าตัว เอาวัวพันหลัก
- ไม้หลักปักขี้ควาย
- ไม้หลักปักเลน
- ลงหลักปักฐาน
- ลิงชิงหลัก
- วัวพันหลัก
- เสาหลัก
- เสาหลักเมือง
- เสียหลัก
- หลักกรรเชียง
- หลักกระเชียง
- หลักการ
- หลักกู
- หลักเกณฑ์
- หลักแจว
- หลักชัย
- หลักฐาน
- หลักฐานเป็นหนังสือ
- หลักตอ
- หลักทรัพย์
- หลักบ้านหลักเมือง
- หลักประกัน
- หลักพยาน
- หลักลอย
- หลักวิชา
- หลักสูตร
- หลักแหล่ง
- หลักแหลม
รากศัพท์ 2
แก้ไขคำนาม
แก้ไขหลัก
- ตำแหน่งของตัวเลขซึ่งแสดงจำนวน คือ ถ้าเป็นเลขตัวเดียว เรียกว่า จำนวนหน่วย เลข 2 ตัวเรียงกัน เรียกว่า จำนวนสิบ เลข 3 ตัวเรียงกัน เรียกว่า จำนวนร้อย เลข 4 ตัวเรียงกัน เรียกว่า จำนวนพัน เลข 5 ตัวเรียงกัน เรียกว่า จำนวนหมื่น เลข 6 ตัวเรียงกัน เรียกว่า จำนวนแสน เลข 7 ตัวเรียงกัน เรียกว่า จำนวนล้าน
- 987 เป็นจำนวนร้อย, 9 เป็นเลขหลักร้อย หมายถึง 900, ส่วน 8 เป็นเลขหลักสิบ หมายถึง 80, และ 7 เป็นเลขหลักหน่วย หมายถึง 7
รากศัพท์ 3
แก้ไขยืมมาจากภาษาสันสกฤต लक्ष (ลกฺษ), จากภาษาบาลี ลกฺข; ร่วมเชื้อสายกับภาษาเขมร លក្ខ (ลกฺข)
คำคุณศัพท์
แก้ไขหลัก
ภาษาปักษ์ใต้
แก้ไขคำกริยา
แก้ไขหลัก (คำอาการนาม ก่านหลัก)
อ้างอิง
แก้ไข- “หลัก” ใน Central Southern Thai Dictionary (Kaewkhao, Uthai และ Kiatboonyarit, Tawan: ประเทศไทย: US Peace Corps 1986), หน้าที่ 8
ภาษาอีสาน
แก้ไขคำคุณศัพท์
แก้ไขหลัก (คำอาการนาม ความหลัก)