ภาษาไทย

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *C̬.lakᴰ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩃᩢ᩠ᨠ (ลัก), ภาษาปักษ์ใต้ หลัก, ภาษาลาว ລັກ (ลัก), ภาษาไทลื้อ ᦟᧅ (ลัก), ภาษาไทขาว ꪩꪰꪀ, ภาษาไทใหญ่ လၵ်ႉ (ลั๎ก), ภาษาอาหม 𑜎𑜀𑜫 (ลก์), ภาษาแสก ลั̄ก, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง laeg, ภาษาจ้วง laeg

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์ลัก
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงlák
ราชบัณฑิตยสภาlak
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/lak̚˦˥/(สัมผัส)
คำพ้องเสียง

คำกริยา

แก้ไข

ลัก (คำอาการนาม การลัก)

  1. เอาสิ่งของที่เขาไม่ให้ไปด้วยอาการซ่อนเร้น, ขโมย
    ลักทรัพย์
  2. แอบทำ, ลอบทำ
    ลักกินขนมในห้องเรียน
    ลักสูบบุหรี่ในห้องน้ำ

คำกริยาวิเศษณ์

แก้ไข

ลัก

  1. เว้นข้ามไปทำให้เสียระเบียบ
    รถไฟลักหลีก ทำให้รถ 2 ขบวนชนกัน

ภาษาคำเมือง

แก้ไข

คำกริยา

แก้ไข

ลัก (คำอาการนาม ก๋ารลัก หรือ ก๋านลัก)

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᩃᩢ᩠ᨠ (ลัก)