พล
ภาษาไทย
แก้ไขรากศัพท์ 1
แก้ไขยืมมาจากภาษาสันสกฤต बल (พล, “กำลัง”), จากภาษาบาลี พล (“กำลัง”)
การออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | พน | [เสียงสมาส] พน-ละ- | [เสียงสมาส] พะ-ละ- | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | pon | pon-lá- | pá-lá- |
ราชบัณฑิตยสภา | phon | phon-la- | pha-la- | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /pʰon˧/(สัมผัส) | /pʰon˧.la˦˥./ | /pʰa˦˥.la˦˥./ | |
คำพ้องเสียง | พน |
คำนาม
แก้ไขพล
- กำลัง, มักใช้ประกอบคำอื่น
- พระทศพล
- ทรงมีพระญาณอันเป็นกำลัง 10 ประการ (พระนามพระพุทธเจ้า)
- พลศึกษา
- ทหาร
- กองพล
- ตรวจพล
- ยกพลขึ้นบก
- สามัญ, ธรรมดา ๆ, พื้น ๆ
- ของพล ๆ
- ยศทหารและตำรวจสัญญาบัตรรองจากจอมพล (เดิมใช้ว่า นายพล)
คำเกี่ยวข้อง
แก้ไขคำวิสามานยนาม
แก้ไขพล
- ชื่ออำเภอหนึ่งในจังหวัดขอนแก่น
ดูเพิ่ม
แก้ไขรากศัพท์ 2
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | พอ-ลอ | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | pɔɔ-lɔɔ |
ราชบัณฑิตยสภา | pho-lo | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /pʰɔː˧.lɔː˧/(สัมผัส) |
คำวิสามานยนาม
แก้ไขพล
- อักษรย่อของ พิษณุโลก
ดูเพิ่ม
แก้ไขภาษาบาลี
แก้ไขรากศัพท์
แก้ไขรูปแบบอื่น
แก้ไขเขียนด้วยอักษรอื่น
คำนาม
แก้ไขพล ก.
การผันรูป
แก้ไขแจกตามแบบ กุล
ตารางการผันรูปของ "พล" (เพศกลาง)
การก \ พจน์ | เอกพจน์ | พหูพจน์ |
---|---|---|
กรรตุการก (ปฐมา) | พลํ | พลานิ |
กรรมการก (ทุติยา) | พลํ | พลานิ |
กรณการก (ตติยา) | พเลน | พเลหิ หรือ พเลภิ |
สัมปทานการก (จตุตถี) | พลสฺส หรือ พลาย หรือ พลตฺถํ | พลานํ |
อปาทานการก (ปัญจมี) | พลสฺมา หรือ พลมฺหา หรือ พลา | พเลหิ หรือ พเลภิ |
สัมพันธการก (ฉัฏฐี) | พลสฺส | พลานํ |
อธิกรณการก (สัตตมี) | พลสฺมิํ หรือ พลมฺหิ หรือ พเล | พเลสุ |
สัมโพธนการก (อาลปนะ) | พล | พลานิ |