ภาษาไทย แก้ไข

รากศัพท์ แก้ไข

ร่วมเชื้อสายภาษาอีสาน คล้อย หรือ ค้อย, ภาษาลาว ຄ້ອຍ (ค้อย), ภาษาคำเมือง ᨣᩖᩬ᩠᩶ᨿ (คลอ้ย), ภาษาเขิน ᨣᩭ᩶ (คอย้), ภาษาไทลื้อ ᦅᦾᧉ (ค้อ̂ย), ภาษาไทใหญ่ ၵွႆႉ (ก๎อ̂ย, โค้ง)

การออกเสียง แก้ไข

การแบ่งพยางค์คฺล้อย
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงklɔ́ɔi
ราชบัณฑิตยสภาkhloi
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/kʰlɔːj˦˥/(สัมผัส)

คำกริยาวิเศษณ์ แก้ไข

คล้อย

  1. เพิ่งพ้นจากที่กำหนดไป
    เขาเพิ่งเดินคล้อยไปเมื่อสักครู่นี้

คำกริยา แก้ไข

คล้อย (คำอาการนาม การคล้อย)

  1. บ่าย, ชาย
  2. เรียกอาการที่ดวงตะวันเลยเที่ยงไปแล้วว่า ตะวันคล้อย
  3. เรียกอาการที่ดวงจันทร์เลยเที่ยงคืนไปแล้วว่า เดือนคล้อย
  4. หย่อนลง, ลดต่ำ
  5. เรียกนมที่หย่อนลงเล็กน้อยว่า นมคล้อย

ดูเพิ่ม แก้ไข