ᨷ᩵ᩤ᩠ᩅ
ภาษาเขิน
แก้ไขรากศัพท์
แก้ไขสืบทอดจากไทดั้งเดิม *ɓaːwᴮ; ร่วมเชื้อสายกับไทย บ่าว, อีสาน บ่าว, ลาว ບ່າວ (บ่าว), คำเมือง ᨷ᩵ᩤ᩠ᩅ (บ่าว), ไทลื้อ ᦢᦱᧁᧈ (บ่าว), ไทดำ ꪚ꪿ꪱꪫ (บ่าว), ไทใหญ่ မၢဝ်ႇ (ม่าว) หรือ ဝၢဝ်ႇ (ว่าว), อาหม 𑜉𑜨𑜧 (มอ̂ว์) หรือ 𑜉𑜨𑜧𑜈𑜫 (มอ̂ว์ว์), จ้วง mbauq
การออกเสียง
แก้ไข- (เชียงตุง) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /baːw˨˨/
คำนาม
แก้ไขᨷ᩵ᩤ᩠ᩅ (บ่าว) (คำลักษณนาม ᨤᩫ᩠ᨶ)
ลูกคำ
แก้ไข- ᨷ᩵ᩤ᩠ᩅᨩᩮᩬᩨ᩶ (บ่าวเชอื้)
- ᨷ᩵ᩤ᩠ᩅᨳᩮᩢ᩶ᩣ (บ่าวเถั้า)
อ้างอิง
แก้ไข- ᨩᩣ᩠ᨿᨪᩮᨩᩮ᩠ᨾ. (n.d.). ᩋᨽᩥᨵᩤᨶᩈᩢ᩠ᨷᩅᩰᩉᩣ᩠ᩁᨸᩖᩯᨽᩣᩈᩣᨡᩨ᩠ᨶ.
ภาษาคำเมือง
แก้ไขรูปแบบอื่น
แก้ไข- (ถอดอักษรและถอดเสียง) บ่าว
รากศัพท์
แก้ไขสืบทอดจากไทดั้งเดิม *ɓaːwᴮ; ร่วมเชื้อสายกับไทย บ่าว, อีสาน บ่าว, ลาว ບ່າວ (บ่าว), เขิน ᨷ᩵ᩤ᩠ᩅ (บ่าว), ไทลื้อ ᦢᦱᧁᧈ (บ่าว), ไทดำ ꪚ꪿ꪱꪫ (บ่าว), ไทใหญ่ မၢဝ်ႇ (ม่าว) หรือ ဝၢဝ်ႇ (ว่าว), อาหม 𑜉𑜨𑜧 (มอ̂ว์) หรือ 𑜉𑜨𑜧𑜈𑜫 (มอ̂ว์ว์), จ้วง mbauq
การออกเสียง
แก้ไข- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /baːw˨˩/
คำนาม
แก้ไขᨷ᩵ᩤ᩠ᩅ (บ่าว) (คำลักษณนาม ᨤᩫ᩠ᨶ)
อ้างอิง
แก้ไข- พจนานุกรมภาษาล้านนา = The Lanna dictionary (พิมพ์ครั้งที่ 2). (พ.ศ. 2550). เชียงใหม่: สถาบันภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.