ภาษาไทย แก้ไข

การออกเสียง แก้ไข

การแบ่งพยางค์อิน
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงin
ราชบัณฑิตยสภาin
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/ʔin˧/(สัมผัส)
คำพ้องเสียง

รากศัพท์ 1 แก้ไข

คำนาม แก้ไข

อิน

  1. ชื่อลูกจันชนิดหนึ่ง ลูกกลมแป้นกลางบุ๋ม ไม่มีเมล็ด เรียกว่า ลูกจันอิน

รากศัพท์ 2 แก้ไข

ยืมมาจากภาษาอังกฤษ in

คำกริยา แก้ไข

อิน (คำอาการนาม การอิน หรือ ความอิน)

  1. (ภาษาปาก) เข้าถึงอารมณ์อย่างแท้จริง
    ดาราคนนี้อินกับบทบาทมาก ผู้กำกับสั่งคัตแล้วยังร้องไห้อยู่
  2. (ภาษาปาก) มีอารมณ์อ่อนไหวตาม
    คนใช้ที่บ้านดูละครแล้วอิน ร้องไห้ตามนางเอกไปด้วย

ภาษามอญแบบไทย แก้ไข

รูปแบบอื่น แก้ไข

รากศัพท์ แก้ไข

ยืมมาจากภาษาบาลี อินฺท, จากภาษาสันสกฤต इन्द्र (อินฺทฺร)

การออกเสียง แก้ไข

คำวิสามานยนาม แก้ไข

อิน

  1. พระอินทร์

อ้างอิง แก้ไข

  • พวน รามัญวงศ์ (2005) พจนานุกรมมอญ-ไทย ฉบับมอญสยาม [Mon-Thai (Siamese) Dictionary], กรุงเทพฯ: มติชน, →ISBN