ภาษาไทย

แก้ไข
 
วิกิพีเดียภาษาไทยมีบทความเกี่ยวกับ:
Wikipedia

รากศัพท์

แก้ไข

ยืมมาจากบาลี อารมฺมณ (พื้นฐาน, สิ่งค้ำจุน, รากฐาน; เหตุ, ที่มา, ปัจจัย); เทียบสันสกฤต आलम्बन (อาลมฺพน, ฐาน, พื้นฐาน)

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์อา-รม
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงaa-rom
ราชบัณฑิตยสภาa-rom
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/ʔaː˧.rom˧/(สัมผัส)

คำนาม

แก้ไข

อารมณ์

  1. สิ่งที่ยึดหน่วงจิตโดยผ่านทางตา หู จมูก ลิ้น กาย และใจ
    รูปเป็นอารมณ์ของตา
    เสียงเป็นอารมณ์ของหู
  2. เครื่องยึดถือเป็นจริงเป็นจัง
    เรื่องนี้อย่าเอามาเป็นอารมณ์เลย
  3. ความรู้สึกทางใจที่เปลี่ยนแปลงไปตามสิ่งเร้า
    อารมณ์รัก
    อารมณ์โกรธ
    อารมณ์ดี
    อารมณ์ร้าย
  4. อัธยาศัย, ปรกตินิสัย
    อารมณ์ขัน
    อารมณ์เยือกเย็น
    อารมณ์ร้อน
  5. ความรู้สึก
    อารมณ์ค้าง
    ใส่อารมณ์
  6. ความรู้สึกซึ่งมักใช้ไปในทางกามารมณ์
    อารมณ์เปลี่ยว
    เกิดอารมณ์

คำพ้องความ

แก้ไข

ดูเพิ่ม

แก้ไข

คำแปลภาษาอื่น

แก้ไข

คำคุณศัพท์

แก้ไข

อารมณ์

  1. มีอัธยาศัย, มีปรกตินิสัย
    เขาเป็นคนอารมณ์เยือกเย็น
    เขาเป็นคนอารมณ์ร้อน

ลูกคำ

แก้ไข