จิ้มก้อง
ภาษาไทย
แก้ไขรากศัพท์
แก้ไขยืมมาจากจีนกลาง 進貢/进贡 (jìngòng)[1]
การออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | จิ้ม-ก้อง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | jîm-gɔ̂ɔng |
ราชบัณฑิตยสภา | chim-kong | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /t͡ɕim˥˩.kɔːŋ˥˩/(สัมผัส) |
คำกริยา
แก้ไขจิ้มก้อง (คำอาการนาม การจิ้มก้อง)
- (โบราณ) เจริญทางพระราชไมตรีเฉพาะกับประเทศจีน โดยนำพระราชสาส์นและเครื่องราชบรรณาการไปถวายจักรพรรดิตามเวลาที่กำหนด ปรกติ 3 ปี ต่อครั้ง
- แต่งทูตออกไปจิ้มก้อง(พงศ. ร. 3)
- (ภาษาปาก) นำสิ่งของเป็นต้นไปกำนัลเพื่อเอาใจ
- (ภาษาปาก) นำสิ่งของไปกำนัลผู้ที่สามารถให้ประโยชน์หรือช่วยเหลือได้ มักเป็นผู้ใหญ่หรือผู้มีอำนาจ
- เขาเอาของไปจิ้มก้องเจ้านายเพื่อขอเลื่อนตำแหน่ง
อ้างอิง
แก้ไข- ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมคำใหม่ เล่ม 1 ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : ธนาเพรส, 2553. หน้า 43.