U+97F3, 音
CJK UNIFIED IDEOGRAPH-97F3

[U+97F2]
CJK Unified Ideographs
[U+97F4]
U+2FB3, ⾳
KANGXI RADICAL SOUND

[U+2FB2]
Kangxi Radicals
[U+2FB4]

ภาษาร่วม แก้ไข

อักษรจีน แก้ไข

(รากคังซีที่ 180, +0, 9 ขีด, การป้อนชางเจี๋ย 卜廿日 (YTA), การป้อนสี่มุม 00601, การประกอบ )

  1. เสียง

อ้างอิง แก้ไข

  • พจนานุกรมคังซี: หน้า 1396 อักขระตัวที่ 25
  • พจนานุกรมไดกังวะจิเต็ง: อักขระตัวที่ 43265
  • พจนานุกรมแทจาวอน: หน้า 1912 อักขระตัวที่ 16
  • พจนานุกรมฮั่นยฺหวี่ต้าจื้อเตี่ยน (ฉบับพิมพ์ครั้งแรก): เล่ม 7 หน้า 4495 อักขระตัวที่ 1
  • ข้อมูลยูนิฮันสำหรับ U+97F3

ภาษาจีน แก้ไข

ตัวย่อและตัวเต็ม

ต้นกำเนิดอักษร แก้ไข

รูปในอดีตของตัวอักษร
ร. โจวตะวันตก ยุควสันตสารท ยุครณรัฐ ซัวเหวินเจี่ยจื้อ (แต่งใน ร. ฮั่น) ลิ่วซูถ่ง (แต่งใน ร. หมิง)
รอยจารึกสัมฤทธิ์ รอยจารึกสัมฤทธิ์ อักษรไหมและซีกไม้รัฐฉู่ อักษรประทับเล็ก อักษรโบราณคัดลอก
         

คำนาม แก้ไข

  1. เสียง
  2. การออกเสียง
  3. ระดับเสียง

การออกเสียง แก้ไข


หมายเหตุ: ing1 - Chenghai.

  • ข้อมูลภาษาถิ่น
สำเนียง สถานที่
จีนกลาง ปักกิ่ง /in⁵⁵/
ฮาเอ่อร์ปิน /in⁴⁴/
เทียนจิน /in²¹/
จี่หนาน /iẽ²¹³/
ชิงเต่า /iə̃²¹³/
เจิ้งโจว /in²⁴/
ซีอาน /iẽ²¹/
ซีหนิง /iə̃⁴⁴/
อิ๋นชวน /iŋ⁴⁴/
หลานโจว /ĩn³¹/
อุรุมชี /iŋ⁴⁴/
อู่ฮั่น /in⁵⁵/
เฉิงตู /in⁵⁵/
กุ้ยหยาง /in⁵⁵/
คุนหมิง /ĩ⁴⁴/
หนานจิง /in³¹/
เหอเฝย์ /in²¹/
จิ้น ไท่หยวน /iəŋ¹¹/
ผิงเหยา /iŋ¹³/
ฮูฮอต /ĩŋ³¹/
อู๋ เซี่ยงไฮ้ /iŋ⁵³/
ซูโจว /in⁵⁵/
หางโจว /ʔin³³/
เวินโจว /j̠aŋ³³/
หุย เซ่อเสี้ยน /iʌ̃³¹/
ถุนซี /in¹¹/
เซียง ฉางชา /in³³/
เซียงถาน /in³³/
กั้น หนานชาง /in⁴²/
แคะ เหมยเซี่ยน /im⁴⁴/
เถาหยวน /im²⁴/
กวางตุ้ง กวางเจา /jɐm⁵³/
หนานหนิง /jɐm⁵⁵/
ฮ่องกง /jɐm⁵⁵/
หมิ่น เซี่ยเหมิน (หมิ่นใต้) /im⁵⁵/
ฝูโจว (หมิ่นตะวันออก) /iŋ⁴⁴/
เจี้ยนโอว (หมิ่นเหนือ) /eiŋ⁵⁴/
ซัวเถา (หมิ่นใต้) /im³³/
ไหโข่ว (หมิ่นใต้) /im²³/

สัมผัส
อักขระ
การออกเสียงที่ 1/1
ต้นพยางค์ () (34)
ท้ายพยางค์ () (140)
วรรณยุกต์ (調) Level (Ø)
พยางค์เปิด/ปิด (開合) Open
ส่วน () III
ฝ่านเชี่ย
แบกซเตอร์ 'im
การสืบสร้าง
เจิ้งจาง ซ่างฟาง /ʔˠiɪm/
พาน อู้ยฺหวิน /ʔᵚim/
ซ่าว หรงเฟิน /ʔiem/
เอดวิน พุลลีย์แบลงก์ /ʔjim/
หลี่ หรง /ʔjəm/
หวาง ลี่ /ĭĕm/
เบอร์นาร์ด คาร์ลเกรน /ʔi̯əm/
แปลงเป็นจีนกลาง
ที่คาดหมาย
yīn
แปลงเป็นกวางตุ้ง
ที่คาดหมาย
jam1
ระบบแบกซ์เตอร์ซาการ์ 1.1 (2014)
อักขระ
การออกเสียงที่ 1/1
ปักกิ่งใหม่
(พินอิน)
yīn
จีนยุคกลาง ‹ ʔim ›
จีนเก่า /*[q](r)əm/
อังกฤษ sound, tone

Notes for Old Chinese notations in the Baxter–Sagart system:

* Parentheses "()" indicate uncertain presence;
* Square brackets "[]" indicate uncertain identity, e.g. *[t] as coda may in fact be *-t or *-p;
* Angle brackets "<>" indicate infix;
* Hyphen "-" indicates morpheme boundary;

* Period "." indicates syllable boundary.
ระบบเจิ้งจาง (2003)
อักขระ
การออกเสียงที่ 1/1
หมายเลข 15223
ส่วนประกอบ
สัทศาสตร์
กลุ่มสัมผัส
กลุ่มย่อยสัมผัส 1
สัมผัสจีนยุคกลาง
ที่สอดคล้อง
จีนเก่า /*qrɯm/

ภาษาญี่ปุ่น แก้ไข

คันจิ แก้ไข

(เคียวอิกูกันจิระดับ 1)

การอ่าน แก้ไข

รากศัพท์ 1 แก้ไข

คันจิในศัพท์นี้
おん
ระดับ: 1
อนโยมิ

จากภาษาจีนยุคกลาง (MC 'im).

การออกเสียง แก้ไข

คำนาม แก้ไข

(おん) (on

  1. เสียง
  2. ดนตรี

รากศัพท์ 2 แก้ไข

คันจิในศัพท์นี้
おと
ระดับ: 1
คุนโยมิ

⟨oto2 อักขระไอพีเอผิด (2) → */otə//oto/

สืบทอดจากภาษาญี่ปุ่นเก่า.

แรกสุดจากภาษาญี่ปุ่นดั้งเดิม *ətə.

การออกเสียง แก้ไข

คำนาม แก้ไข

(おと) (oto

  1. เสียง
  2. ข่าว
  3. การตอบกลับ
ลูกคำ แก้ไข

อ้างอิง แก้ไข

  1. 1.0 1.1 2006, 大辞林 (Daijirin), Third Edition (in Japanese), Tōkyō: Sanseidō, →ISBN
  2. 2.0 2.1 2541 (1998), NHK日本語発音アクセント辞典 (พจนานุกรมสำเนียงการออกเสียงภาษาญี่ปุ่นโดยเอ็นเอชเค) (ภาษาญี่ปุ่น), โตเกียว: เอ็นเอชเค, →ISBN
  3. 1974, 新明解国語辞典 (พจนานุกรมภาษาญี่ปุ่นเข้าใจง่ายฉบับใหม่), ปรับปรุงครั้งที่ 2 (ภาษาญี่ปุ่น), โตเกียว: ซันเซอิโด