U+6CD5, 法
CJK UNIFIED IDEOGRAPH-6CD5

[U+6CD4]
CJK Unified Ideographs
[U+6CD6]

ภาษาร่วม แก้ไข

อักษรจีน แก้ไข

(รากคังซีที่ 85, +5, 8 ขีด, การป้อนชางเจี๋ย 水土戈 (EGI), การป้อนสี่มุม 34131, การประกอบ )

  1. law, rule, regulation, statute
  2. France, French
ข้อมูลนี้ได้นำเข้าโดยบอต ซึ่งมีบางส่วนที่ต้องการแปลเป็นภาษาไทย กรุณาช่วยแปลข้อมูลดังกล่าว เสร็จแล้วให้นำป้ายนี้ออก

อ้างอิง แก้ไข

  • พจนานุกรมคังซี: หน้า 616 อักขระตัวที่ 11
  • พจนานุกรมไดกังวะจิเต็ง: อักขระตัวที่ 17290
  • พจนานุกรมแทจาวอน: หน้า 1010 อักขระตัวที่ 2
  • พจนานุกรมฮั่นยฺหวี่ต้าจื้อเตี่ยน (ฉบับพิมพ์ครั้งแรก): เล่ม 3 หน้า 1579 อักขระตัวที่ 4
  • ข้อมูลยูนิฮันสำหรับ U+6CD5

ภาษาจีน แก้ไข

ตัวย่อและตัวเต็ม
รูปแบบอื่น

𢌇

𣳴

การออกเสียง แก้ไข


หมายเหตุ:
  • กวางตุ้ง
  • กั้น
  • แคะ
  • จิ้น
  • หมิ่นเหนือ
  • หมิ่นตะวันออก
  • หมิ่นใต้
  • หมายเหตุ:
    • huab4 - Chaozhou, Chaoyang, Jieyang, Raoping, Pontianak;
    • huag4 - Shantou, Chenghai.
  • อู๋
  • เซียง

    • ข้อมูลภาษาถิ่น
    สำเนียง สถานที่
    จีนกลาง ปักกิ่ง /fa²¹⁴/
    /fa⁵¹/
    ฮาเอ่อร์ปิน /fa²¹³/
    เทียนจิน /fɑ⁴⁵/ ~子
    /fɑ¹³/ 方~,~國
    จี่หนาน /fa²¹³/
    ชิงเต่า /fa⁵⁵/
    เจิ้งโจว /fa²⁴/
    ซีอาน /fa²¹/
    ซีหนิง /fa⁴⁴/
    อิ๋นชวน /fa¹³/
    หลานโจว /fa¹³/
    อุรุมชี /fa⁵¹/
    อู่ฮั่น /fa²¹³/
    เฉิงตู /fa³¹/
    กุ้ยหยาง /fa²¹/
    คุนหมิง /fa̠³¹/
    หนานจิง /fɑʔ⁵/
    เหอเฝย์ /fɐʔ⁵/
    จิ้น ไท่หยวน /faʔ²/
    ผิงเหยา /xuʌʔ¹³/
    ฮูฮอต /faʔ⁴³/
    อู๋ เซี่ยงไฮ้ /faʔ⁵/
    ซูโจว /faʔ⁵/
    หางโจว /fɑʔ⁵/
    เวินโจว /ho²¹³/
    หุย เซ่อเสี้ยน /faʔ²¹/
    ถุนซี /fuːə⁵/
    เซียง ฉางชา /fa²⁴/
    เซียงถาน /ɸɒ²⁴/
    กั้น หนานชาง /faʔ⁵/
    แคะ เหมยเซี่ยน /fap̚¹/
    เถาหยวน /fɑp̚²²/
    กวางตุ้ง กวางเจา /fat̚³/
    หนานหนิง /fat̚³³/
    ฮ่องกง /fat̚³/
    หมิ่น เซี่ยเหมิน (หมิ่นใต้) /huat̚³²/
    ฝูโจว (หมิ่นตะวันออก) /huɑʔ²³/
    เจี้ยนโอว (หมิ่นเหนือ) /xua²⁴/
    ซัวเถา (หมิ่นใต้) /huak̚²/
    ไหโข่ว (หมิ่นใต้) /fak̚⁵/

    สัมผัส
    อักขระ
    การออกเสียงที่ 1/1
    ต้นพยางค์ () (1)
    ท้ายพยางค์ () (148)
    วรรณยุกต์ (調) Checked (Ø)
    พยางค์เปิด/ปิด (開合) Closed
    ส่วน () III
    ฝ่านเชี่ย
    แบกซเตอร์ pjop
    การสืบสร้าง
    เจิ้งจาง ซ่างฟาง /pɨɐp̚/
    พาน อู้ยฺหวิน /piɐp̚/
    ซ่าว หรงเฟิน /piɐp̚/
    เอดวิน พุลลีย์แบลงก์ /puap̚/
    หลี่ หรง /piɐp̚/
    หวาง ลี่ /pĭwɐp̚/
    เบอร์นาร์ด คาร์ลเกรน /pi̯wɐp̚/
    แปลงเป็นจีนกลาง
    ที่คาดหมาย
    fa
    แปลงเป็นกวางตุ้ง
    ที่คาดหมาย
    faat3
    ระบบแบกซ์เตอร์ซาการ์ 1.1 (2014)
    อักขระ
    การออกเสียงที่ 1/1
    ปักกิ่งใหม่
    (พินอิน)
    จีนยุคกลาง ‹ pjop ›
    จีนเก่า /*[p.k]ap/
    อังกฤษ model, law

    Notes for Old Chinese notations in the Baxter–Sagart system:

    * Parentheses "()" indicate uncertain presence;
    * Square brackets "[]" indicate uncertain identity, e.g. *[t] as coda may in fact be *-t or *-p;
    * Angle brackets "<>" indicate infix;
    * Hyphen "-" indicates morpheme boundary;

    * Period "." indicates syllable boundary.
    ระบบเจิ้งจาง (2003)
    อักขระ
    การออกเสียงที่ 1/1
    หมายเลข 2867
    ส่วนประกอบ
    สัทศาสตร์
    กลุ่มสัมผัส
    กลุ่มย่อยสัมผัส 1
    สัมผัสจีนยุคกลาง
    ที่สอดคล้อง
    จีนเก่า /*pqab/
    หมายเหตุ

    ภาษาญี่ปุ่น แก้ไข

    คันจิ แก้ไข

    (เคียวอิกูกันจิระดับ 4)

    1. วิธี
    2. กฎ, กฎหมาย
    3. หลัก, หลักการ
    4. ต้นแบบ
    5. ระบบ

    การออกเสียง แก้ไข

    คำประสม แก้ไข

    รากศัพท์ 1 แก้ไข

     
    วิกิพีเดียภาษาญี่ปุ่นมีบทความเกี่ยวกับ:
    Wikipedia ja
    คันจิในศัพท์นี้
    ほう
    ระดับ: 4
    อนโยมิ

    จากภาษาจีนยุคกลาง (MC pjop); แต่เดิมการออกเสียงแบบคังองคือ はふ (fafu) และการออกเสียงแบบโกะองคือ ほふ (fofu) แต่ทั้งสองแบบได้แผลงเป็น ほう () ในภาษาญี่ปุ่นปัจจุบัน มีการเสนอว่าการออกเสียงแบบคังอง เคยถูกใช้ในความหมายทั่วไป ส่วนการออกเสียงแบบโกะอง เคยถูกใช้ในบริบทของศาสนาพุทธ

    การออกเสียง แก้ไข

    คำนาม แก้ไข

    (ほう) (はふ (fafu)?

    1. หลัก, หลักการ
    2. กฎหมาย
    3. ประมวลกฎหมาย
    4. วิธี
    5. แบบแผน, มารยาท
    6. (ศาสนาพุทธ) ธรรม
    7. (ไวยากรณ์) มาลา
    8. (คณิตศาสตร์) ตัวหาร
    คำประสม แก้ไข

    อ้างอิง แก้ไข

    1. 2006, 大辞林 (Daijirin), Third Edition (in Japanese), Tōkyō: Sanseidō, →ISBN
    2. 2541 (1998), NHK日本語発音アクセント辞典 (พจนานุกรมสำเนียงการออกเสียงภาษาญี่ปุ่นโดยเอ็นเอชเค) (ภาษาญี่ปุ่น), โตเกียว: เอ็นเอชเค, →ISBN