ภาษาคำเมือง

แก้ไข

รูปแบบอื่น

แก้ไข
  • (ถอดอักษรและถอดเสียง) ดอง

การออกเสียง

แก้ไข

รากศัพท์ 1

แก้ไข

สืบทอดจากไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ˀblɔːŋᴬ³, จากไทดั้งเดิม *ɗoːŋᴬ; ร่วมเชื้อสายกับไทย ดอง, อีสาน บอง, ลาว ດອງ (ดอง), ບອງ (บอง), ไทลื้อ ᦢᦸᧂ (บอ̂ง), ไทขาว ꪚꪮꪉ, ไทใหญ่ မွင် (มอ̂ง), จ้วง myong, ndong, ปู้อี doongl

คำกริยา

แก้ไข

ᨯᩬᨦ (ดอง) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᨯᩬᨦ)

  1. (สกรรม) ดอง (แช่หรือหมักในน้ำเกลือหรือน้ำส้มไว้นาน ๆ)

รากศัพท์ 2

แก้ไข

สืบทอดจากไทดั้งเดิม *t.noːŋᴬ; ร่วมเชื้อสายกับไทย ดอง, อีสาน ดอง, ลาว ດອງ (ดอง), ไทลื้อ ᦡᦸᧂ (ดอ̂ง)

คำนาม

แก้ไข

ᨯᩬᨦ (ดอง)

  1. การแต่งงาน, การเกี่ยวเนื่องกันโดยการแต่งงาน
  2. วิธีห่มผ้าของภิกษุสามเณรโดยปิดบ่าซ้ายและเปิดบ่าขวา เรียกว่า ᨯᩬᨦᨹ᩶ᩣ (ดองผ้า)

อ้างอิง

แก้ไข
  • พจนานุกรมภาษาล้านนา = The Lanna dictionary (พิมพ์ครั้งที่ 2). (พ.ศ. 2550). เชียงใหม่: สถาบันภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.