ᨹ᩶ᩣ
ภาษาเขิน
แก้ไขรากศัพท์
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *pʰaːꟲ¹, จากภาษาจีนเก่า 布 (OC *paːs); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ผ้า, ภาษาลาว ຜ້າ (ผ้า), ภาษาคำเมือง ᨹ᩶ᩣ (ผ้า), ภาษาไทลื้อ ᦕᦱᧉ (ผ้า), ภาษาไทดำ ꪠ꫁ꪱ (ฝ้า), ภาษาไทใหญ่ ၽႃႈ (ผ้า), ภาษาไทใต้คง ᥚᥣᥲ (ผ้า), ภาษาอ่ายตน ၸႃ (ผา), ภาษาอาหม 𑜇𑜠 (ผะ), 𑜇𑜡 (ผา), 𑜇𑜨𑜠 (ผอ̂ะ), หรือ 𑜇𑜨𑜡 (ผอ̂า)
การออกเสียง
แก้ไข- (เชียงตุง) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /pʰaː˧˧ʔ/
คำนาม
แก้ไขᨹ᩶ᩣ (ผ้า)
ภาษาคำเมือง
แก้ไขรูปแบบอื่น
แก้ไข- (ถอดอักษรและถอดเสียง) ผ้า
รากศัพท์
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *pʰaːꟲ¹, จากภาษาจีนเก่า 布 (OC *paːs); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ผ้า, ภาษาลาว ຜ້າ (ผ้า), ภาษาเขิน ᨹ᩶ᩣ (ผ้า), ภาษาไทลื้อ ᦕᦱᧉ (ผ้า), ภาษาไทดำ ꪠ꫁ꪱ (ฝ้า), ภาษาไทใหญ่ ၽႃႈ (ผ้า), ภาษาไทใต้คง ᥚᥣᥲ (ผ้า), ภาษาอ่ายตน ၸႃ (ผา), ภาษาอาหม 𑜇𑜠 (ผะ), 𑜇𑜡 (ผา), 𑜇𑜨𑜠 (ผอ̂ะ), หรือ 𑜇𑜨𑜡 (ผอ̂า)
การออกเสียง
แก้ไข- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /pʰaː˦˦ʔ/
- (น่าน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /pʰaː˦˦ʔ/
คำนาม
แก้ไขᨹ᩶ᩣ (ผ้า)