ภาษาไทย แก้ไข

รากศัพท์ แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ʰnɔːᴮ¹, จากภาษาไทดั้งเดิม *ʰnoːᴮ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨶᩬᩴ᩵ (หนอํ่), ภาษาเขิน ᩉ᩠ᨶᩳ᩵ (หนอ่), ภาษาลาว ໜໍ່ (หนํ่), ภาษาไทลื้อ ᦐᦸᧈ (หฺน่อ̂), ภาษาไทดำ ꪘꪷ꪿ (หฺนํ่), ภาษาไทขาว ꪘꪮꫀ, ภาษาไทใหญ่ ၼေႃႇ (น่อ̂), ภาษาไทใต้คง ᥘᥨᥝᥱ (โล่ว) หรือ ᥢᥨᥝᥱ (โน่ว), ภาษาพ่าเก ꩫေႃ (นอ̂), ภาษาอาหม 𑜃𑜦𑜡 (นอ̂), ภาษาจ้วง noq

การออกเสียง แก้ไข

การแบ่งพยางค์หฺน่อ
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงnɔ̀ɔ
ราชบัณฑิตยสภาno
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/nɔː˨˩/(สัมผัส)

คำนาม แก้ไข

หน่อ

  1. พืชที่งอกจากกอหรือเหง้าของต้นใหญ่
    หน่อไม้
  2. โดยปริยายเรียกสิ่งที่เกิดเช่นนั้น
  3. ลูก, ลูกชาย
    หน่อเนื้อเชื้อไข
  4. เชื้อสาย
    หน่อพุทธางกูร
  5. แผลเรื้อรังที่เกิดจากคุดทะราด เป็นตามฝ่าเท้า

ภาษาคำเมือง แก้ไข

คำนาม แก้ไข

หน่อ

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᩉ᩠ᨶᩬᩴ᩵ (หนอํ่)