ข่วง
ดูเพิ่ม: ขวง
ภาษาไทย
แก้ไขรากศัพท์
แก้ไขร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຂ່ວງ (ข่วง), ภาษาคำเมือง ᨡ᩠ᩅ᩵ᨦ (ขว่ง), ภาษาไทลื้อ ᦷᦃᧂᧈ (โฃ่ง)
การออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | ข่วง | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | kùuang |
ราชบัณฑิตยสภา | khuang | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /kʰua̯ŋ˨˩/(สัมผัส) |
คำนาม
แก้ไขข่วง
คำพ้องความ
แก้ไข- (1) ขวง
ภาษาคำเมือง
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไข- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /xuaŋ˨˩/
คำนาม
แก้ไขข่วง
- ลานหรือที่โล่ง มีไว้สำหรับทำกิจกรรมต่าง ๆ ของครัวเรือน ชุมชน และเมือง ส่วนมากจะไม่มีสิ่งปลูกสร้างหรือต้นไม้อยู่ในบริเวณ
ลูกคำ
แก้ไขคำเกี่ยวข้อง
- ข่วงแก้ว (“เขตพุทธาวาส, สังฆาวาส”)
- ข่วงบ้าน (“ลานจัดกิจกรรมของหมู่บ้าน”)
- ข่วงพระเจ้า (“บริเวณที่สายพระเนตรพระประธานทอดลงมาถึงพื้น”)
- ข่วงเมรุ (“เทียบได้กับทุ่งพระเมรุ”)
| width=1% | |bgcolor="#F9F9F9" valign=top align=left width=48%|
- ข่วงลูกกุย, ข่วงละกุย (“เวทีมวย”)
- ข่วงเฮือน (“ลานในบริเวณบ้าน”)
- ลงข่วง (“ทำกิจกรรมในข่วง”)
- หัวข่วง (“ทิศเหนือของข่วง”)
อ้างอิง
แก้ไข- การใช้ภาษา-ข่วง จากเว็บไซด์ราชบัณฑิตยสถาน, สืบค้นวันที่ 10 เมษายน 2555