ดูเพิ่ม: กอง, กฺอง, กฺ้อง, ก่อง, และ ก๋อง

ภาษาไทย

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์
{ไม่ตามอักขรวิธี; เสียงสระสั้น}
ก็้อง
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงgɔ̂ng
ราชบัณฑิตยสภาkong
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/kɔŋ˥˩/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1

แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ກ້ອງ (ก้อง), ภาษาไทลื้อ ᦂᦸᧂᧉ (ก้อ̂ง), ภาษาไทใหญ่ ၵွင်ႈ (ก้อ̂ง), ภาษาอาหม 𑜀𑜨𑜂𑜫 (กอ̂ง์)

คำคุณศัพท์

แก้ไข

ก้อง (คำอาการนาม ความก้อง)

  1. ดังมากอย่างเสียงในที่จำกัดเช่นในโบสถ์, ดังไปได้ไกล
    เขาตะโกนก้องมาจากที่สูง

รากศัพท์ 2

แก้ไข

ยืมมาจากภาษาจีนกลาง (gòng)[1]

คำนาม

แก้ไข

ก้อง

  1. บรรณาการ ในคำว่า จิ้มก้อง

คำกริยา

แก้ไข

ก้อง (คำอาการนาม การก้อง)

  1. (โบราณ) อ่อนน้อมเจริญพระราชไมตรี
    พระเจ้ากรุงไทยแต่งขุนนางไปก้องกรุงปักกิ่ง
    (ประกาศ ร. ๔)

อ้างอิง

แก้ไข

ภาษาคำเมือง

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

ก้อง

  1. อีกรูปหนึ่งของ ᨠᩖᩬ᩶ᨦ (กลอ้ง, ปืนเล็กยาว)