ดูเพิ่ม: เฮย, เฮี่ย, เฮ่ย, และ เฮ้ย

ภาษาไทย

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์เฮีย
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงhiia
ราชบัณฑิตยสภาhia
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/hia̯˧/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1

แก้ไข

ยืมมาจากแต้จิ๋ว (hian1, พี่ชาย)[1]; ร่วมเชื้อสายกับเขมร ហ៊ា (ห̃า)

คำนาม

แก้ไข

เฮีย

  1. พี่ชาย
  2. คำที่ใช้เรียกชายอันเป็นที่นับถือและอายุมากกว่าตน

รากศัพท์ 2

แก้ไข

แผลงมาจาก เหี้ย

คำนาม

แก้ไข

เฮีย

  1. (ภาษาปาก, หยาบคาย, สแลง) รูปที่เจตนาสะกดผิดของ เหี้ย

คำคุณศัพท์

แก้ไข

เฮีย (คำอาการนาม ความเฮีย)

  1. (ภาษาปาก, หยาบคาย, สแลง) รูปที่เจตนาสะกดผิดของ เหี้ย

คำกริยาวิเศษณ์

แก้ไข

เฮีย

  1. (ภาษาปาก, หยาบคาย, สแลง) รูปที่เจตนาสะกดผิดของ เหี้ย

อ้างอิง

แก้ไข
  1. Joanna Rose McFarland (2021), chapter Chapter 3: Language Contact and Lexical Changes in Khmer and Teochew in Cambodia and Beyond, in Chia, Caroline; Hoogervorst, Tom, editors, Sinophone Southeast Asia: Sinitic Voices across the Southern Seas (Chinese Overseas: History, Literature, and Society; 20 [Open Access])‎[1], Brill, →ISBN, page 102