เวร
ภาษาไทย
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไขการแบ่งพยางค์ | เวน | |
การแผลงเป็น อักษรโรมัน | ไพบูลย์พับบลิชชิง | ween |
ราชบัณฑิตยสภา | wen | |
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย) | /weːn˧/(สัมผัส) | |
คำพ้องเสียง | เวน |
รากศัพท์ 1
แก้ไขยืมมาจากภาษาบาลี เวร; เทียบภาษาสันสกฤต वैर (ไวร)
คำนาม
แก้ไขเวร
- ความพยาบาท, ความปองร้าย, บาป
- เวรย่อมระงับด้วยการไม่จองเวร
- (ภาษาปาก, สแลง, หยาบคาย) คนหรือสิ่งที่ก่อความเดือดร้อนวุ่นวาย
- ไอ้เด็กเวร
คำอุทาน
แก้ไขเวร
- (ภาษาปาก, สแลง) คำแสดงความรู้สึกเดือดร้อนเพราะกรรมหรือชะตากรรมของตนในอดีต, กรรมเวร หรือ เวรกรรม ก็ว่า
- เวรของฉันแท้ ๆ ทำเงินเดือนหายไปทั้งเดือน
รากศัพท์ 2
แก้ไขคำนาม
แก้ไขเวร
อ้างอิง
แก้ไข- ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมคำใหม่ เล่ม 3 ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ : ยูเนียนอุลตร้าไวโอเร็ต, 2554. หน้า 102.