ดูเพิ่ม: หม่อน

ภาษาไทย

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *ʰmɔːnᴬ¹; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᩉ᩠ᨾᩬᩁ (หมอร), ภาษาเขิน ᩉ᩠ᨾᩬᩁ (หมอร), ภาษาลาว ໝອນ (หมอน), ภาษาไทลื้อ ᦖᦸᧃ (หฺมอ̂น), ภาษาไทดำ ꪢꪮꪙ (หฺมอน), ภาษาไทขาว ꪢꪮꪙ, ภาษาไทแดง ꪢꪮꪙ, ภาษาไทใหญ่ မွၼ် (มอ̂น), ภาษาพ่าเก မွꩫ် (มอ̂น์), ภาษาอาหม 𑜉𑜨𑜃𑜫 (มอ̂น์), ภาษาจ้วงแบบหนง moan, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง mon

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์หฺมอน
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงmɔ̌ɔn
ราชบัณฑิตยสภาmon
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/mɔːn˩˩˦/(สัมผัส)

คำนาม

แก้ไข

หมอน

  1. เครื่องสำหรับหนุนศีรษะหรือหนุนสิ่งต่าง ๆ เป็นต้น, เรียกตามรูปทรงก็มี เรียกตามวัตถุประสงค์ที่ใช้สอยก็มี เรียกตามวัตถุที่ใช้ทำก็มี (คำลักษณนาม ใบ หรือ ลูก)
    หมอนขวาน
    หมอนตะพาบ
    หมอนหน้าอิฐ
    หมอนหนุนศีรษะ
    หมอนหนุนเท้า
    หมอนหนุนรางรถไฟ
    หมอนไม้
    หมอนอิฐ
  2. เครื่องสำหรับอัดดินปืนในลำกล้องให้แน่น

คำแปลภาษาอื่น

แก้ไข