ภาษาไทย

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *plɔːjᴮ²; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨸᩖᩬ᩠᩵ᨿ (ปลอ่ย), ภาษาเขิน ᨸᩭ᩵ (ปอย่), ภาษาลาว ປ່ອຍ (ป่อย), ภาษาไทลื้อ ᦔᦾᧈ (ป่อ̂ย), ภาษาไทขาว ꪜꪮꪥꫀ, ภาษาไทใหญ่ ပွႆႇ (ป่อ̂ย), ภาษาอาหม 𑜆𑜨𑜩 (ปอ̂ย์)

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์
{ไม่ตามอักขรวิธี; เสียงสระสั้น}
ปฺล็่อย
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงbplɔ̀i
ราชบัณฑิตยสภาploi
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/plɔj˨˩/(สัมผัส)

คำกริยา

แก้ไข

ปล่อย (คำอาการนาม การปล่อย)

  1. ทำให้ออกจากสิ่งที่ติดอยู่ ผูกอยู่ หรือข้องอยู่ เป็นต้น
    ปล่อยนักโทษ
    ปล่อยนก
  2. ยอมให้
    ปล่อยให้เข้ามา
  3. ละเลย
    ปล่อยให้บ้านรกรุงรัง
    ปล่อยให้น้ำล้น
  4. (ภาษาปาก, สแลง) ขาย
    ที่ที่ซื้อไว้ปล่อยไปแล้วราคา 5 ล้านบาท

คำประสม

แก้ไข