ภาษาไทลื้อ แก้ไข

การออกเสียง แก้ไข

รากศัพท์ 1 แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *C̬.raːkᴰ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ราก, ภาษาคำเมือง ᩁᩣ᩠ᨠ (ราก), ภาษาเขิน ᩁᩣ᩠ᨠ (ราก), ภาษาลาว ຮາກ (ฮาก), ภาษาไทดำ ꪭꪱꪀ (ฮาก), ภาษาไทใหญ่ ႁၢၵ်ႈ (ห้าก), ภาษาอาหม 𑜍𑜀𑜫 (รก์), ภาษาจ้วง rag, ภาษาจ้วงแบบหนง laeg, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง lag, ภาษาแสก ร̄าก

คำนาม แก้ไข

ᦣᦱᧅ (ฮาก) (คำลักษณนาม ᦑᦲᧈ)

  1. ราก (ส่วนของพืช)
  2. ที่มา
    ᦌᦱᧉᦶᦋᧆ ᦅᧁᧉ ᦣᦱᧅ ᦂᦱᧃ ᦷᦑᧅᦕᦱᧃ
    ซ้าแชด เค้า ฮาก กาน โทกผาน
    ตรวจสอบที่มาของความทุกข์ยาก

รากศัพท์ 2 แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *rwɯəkᴰ; เทียบภาษาจีนยุคกลาง (MC xuwk|xaewk); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ราก, ภาษาคำเมือง ᩁᩣ᩠ᨠ (ราก), ภาษาเขิน ᩁᩣ᩠ᨠ (ราก), ภาษาอีสาน ฮาก, ภาษาลาว ຮາກ (ฮาก), ภาษาไทใหญ่ ႁၢၵ်ႈ (ห้าก), ภาษาอาหม 𑜍𑜀𑜫 (รก์), ภาษาจ้วงแบบหนง raeg, ภาษาแสก หร้วก

คำกริยา แก้ไข

ᦣᦱᧅ (ฮาก) (คำอาการนาม ᦂᦱᧃᦣᦱᧅ)

  1. ราก, สำรอก, อาเจียน
    ᦷᦎ ᦺᦡᧉ ᦂᦲᧃ ᦗᦸ ᦺᦆᧈ ᦣᦱᧅ, ᦷᦎ ᦺᦆᧈ ᦊᦱᧅ ᦗᦸ ᦡᦲ ᦎᦻ
    โต ได้ กีน พอ̂ ไฅ่ ฮาก, โต ไฅ่ หฺยาก พอ̂ ดี ตาย
    คนได้กิน ก็กินจนอยากอ้วก คนหิว ก็หิวจนจะตาย