ᩁᩣ᩠ᨠ
ภาษาเขิน
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไข- (เชียงตุง) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /haːk˨˨/
รากศัพท์ 1
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *C̬.raːkᴰ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ราก, ภาษาคำเมือง ᩁᩣ᩠ᨠ (ราก), ภาษาลาว ຮາກ (ฮาก), ภาษาไทลื้อ ᦣᦱᧅ (ฮาก), ภาษาไทดำ ꪭꪱꪀ (ฮาก), ภาษาไทใหญ่ ႁၢၵ်ႈ (ห้าก), ภาษาอาหม 𑜍𑜀𑜫 (รก์), ภาษาจ้วง rag, ภาษาจ้วงแบบหนง laeg, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง lag, ภาษาแสก ร̄าก
คำนาม
แก้ไขᩁᩣ᩠ᨠ (ราก)
- ราก (ส่วนของพืช)
รากศัพท์ 2
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *rwɯəkᴰ; เทียบภาษาจีนยุคกลาง 嗀 (MC xuwk|xaewk); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ราก, ภาษาคำเมือง ᩁᩣ᩠ᨠ (ราก), ภาษาอีสาน ฮาก, ภาษาลาว ຮາກ (ฮาก), ภาษาไทลื้อ ᦣᦱᧅ (ฮาก), ภาษาไทใหญ่ ႁၢၵ်ႈ (ห้าก), ภาษาอาหม 𑜍𑜀𑜫 (รก์), ภาษาจ้วงแบบหนง raeg, ภาษาแสก หร้วก
คำกริยา
แก้ไขᩁᩣ᩠ᨠ (ราก) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᩁᩣ᩠ᨠ)
ภาษาคำเมือง
แก้ไขรูปแบบอื่น
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไข- (เชียงใหม่) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /haːk˦˨/
รากศัพท์ 1
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *C̬.raːkᴰ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ราก, ภาษาเขิน ᩁᩣ᩠ᨠ (ราก), ภาษาลาว ຮາກ (ฮาก), ภาษาไทลื้อ ᦣᦱᧅ (ฮาก), ภาษาไทดำ ꪭꪱꪀ (ฮาก), ภาษาไทใหญ่ ႁၢၵ်ႈ (ห้าก), ภาษาอาหม 𑜍𑜀𑜫 (รก์), ภาษาจ้วง rag, ภาษาจ้วงแบบหนง laeg, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง lag, ภาษาแสก ร̄าก
คำนาม
แก้ไขᩁᩣ᩠ᨠ (ราก)
- ราก (ส่วนของพืช)
รากศัพท์ 2
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *rwɯəkᴰ; เทียบภาษาจีนยุคกลาง 嗀 (MC xuwk|xaewk); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ราก, ภาษาเขิน ᩁᩣ᩠ᨠ (ราก), ภาษาอีสาน ฮาก, ภาษาลาว ຮາກ (ฮาก), ภาษาไทลื้อ ᦣᦱᧅ (ฮาก), ภาษาไทใหญ่ ႁၢၵ်ႈ (ห้าก), ภาษาอาหม 𑜍𑜀𑜫 (รก์), ภาษาจ้วงแบบหนง raeg, ภาษาแสก หร้วก
คำกริยา
แก้ไขᩁᩣ᩠ᨠ (ราก) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᩁᩣ᩠ᨠ)