ᦺᦆᧈ
ภาษาไทลื้อ
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไข- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /xaj˧/
รากศัพท์ 1
แก้ไขร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ใคร่, ภาษาคำเมือง ᨣᩕᩱ᩵ (คไร่) หรือ ᨣᩕᩲ᩵ (คใร่), ภาษาลาว ໃຄ່ (ใค่), ภาษาไทใหญ่ ၶႂ်ႈ (ใข้), ภาษาอาหม 𑜁𑜧 (ขว์) หรือ 𑜁𑜞𑜧 (ขฺรว์), ภาษาจ้วง gyaez
คำกริยาวิเศษณ์
แก้ไขᦺᦆᧈ (ไฅ่) (อักษรไทธรรม ᨤᩱ᩵, คำอาการนาม ᦩᦱᧄᦺᦆᧈ)
ลูกคำ
แก้ไขอยาก, ใคร่
- ᦂᦲᧃᦛᦱᧃᦺᦆᧈᦜᧇ (กีนหฺวานไฅ่หฺลับ)
- ᦺᦆᧈᦀᦻ (ไฅ่อาย)
- ᦺᦆᧈᦁᦸᦰᦺᦆᧈᦣᦱᧅ (ไฅ่อ̱อ̂ะไฅ่ฮาก)
- ᦺᦆᧈᦷᦃ (ไฅ่โฃ)
- ᦺᦆᧈᦵᦅᧆ (ไฅ่เคด)
- ᦺᦆᧈᦺᦈ (ไฅ่ไจ)
- ᦺᦆᧈᦊᦱᧅ (ไฅ่หฺยาก)
- ᦺᦆᧈᦊᦱᧅᦃᧁᧉ (ไฅ่หฺยากเฃ้า)
| width=1% | |bgcolor="#F9F9F9" valign=top align=left width=48%|
รากศัพท์ 2
แก้ไขร่วมเชื้อสายกับภาษาเขิน ᨤᩱ᩵ (ไฅ่), ภาษาไทใหญ่ ၶႆႈ (ไข้)
คำกริยา
แก้ไขᦺᦆᧈ (ไฅ่) (อักษรไทธรรม ᨤᩱ᩵, คำอาการนาม ᦂᦱᧃᦺᦆᧈ)
ลูกคำ
แก้ไขเล่า
- ᦃᧇᦺᦆᧈᦺᦎᧈᦏᦱᧄ (ฃับไฅ่ไต่ถาม)
| width=1% | |bgcolor="#F9F9F9" valign=top align=left width=48%|
- ᦃᧇᦺᦆᧈᦺᦎᧈᦠᦱ (ฃับไฅ่ไต่หา)
รากศัพท์ 3
แก้ไขร่วมเชื้อสายกับภาษาเขิน ᨤᩱ᩵ (ไฅ่), ภาษาไทใหญ่ ၶႆႈ (ไข้)