လူင်
ภาษาคำตี้
แก้ไขคำคุณศัพท์
แก้ไขလ︀ူင︀် (transliteration needed)
คำพ้องความ
แก้ไข- (ใหญ่): ယ︀ႂ်
ภาษาไทใหญ่
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไข- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /loŋ˨˦/
- เทียบเสียงภาษาไทยโดยประมาณ: หฺล๋+โ-ง
- สัมผัส: -oŋ
รากศัพท์ 1
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ʰluəŋᴬ (“ใหญ่”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย หลวง, ภาษาคำเมือง ᩉᩖ᩠ᩅᨦ (หลวง), ภาษาลาว ຫຼວງ (หลวง), ภาษาไทลื้อ ᦷᦜᧂ (โหฺลง), ภาษาอาหม 𑜎𑜤𑜂𑜫 (ลุง์), ภาษาจ้วง lueng, ภาษาจ้วงแบบหนง long
คำคุณศัพท์
แก้ไขလူင် • (ลูง) (คำอาการนาม တၢင်းလူင်)
รากศัพท์ 2
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ʰloŋᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย หลง, ภาษาคำเมือง ᩉᩖᩫᨦ (หล็ง), ภาษาลาว ຫຼົງ (หล็ง), ภาษาไทลื้อ ᦷᦜᧂ (โหฺลง), ภาษาไทใต้คง ᥘᥨᥒᥴ (โล๋ง), ภาษาจ้วง loeng, ภาษาจ้วงแบบหนง loang
คำกริยา
แก้ไขလူင် • (ลูง) (คำอาการนาม လွင်ႈလူင်)
รากศัพท์ 3
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ɗoŋᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ดง, ภาษาคำเมือง ᨯᩫ᩠ᨦ (ด็ง), ภาษาเขิน ᨯᩫ᩠ᨦ (ด็ง), ภาษาลาว ດົງ (ด็ง), ภาษาไทลื้อ ᦷᦡᧂ (โดง), ภาษาไทใต้คง ᥘᥨᥒ (โลง), ภาษาอาหม 𑜃𑜤𑜂𑜫 (นุง์) หรือ 𑜓𑜤𑜂𑜫 (ดุง์), ภาษาปู้อี ndongl, ภาษาจ้วง ndoeng, ภาษาจ้วงแบบหนง ndoang
คำนาม
แก้ไขလူင် • (ลูง)
- ดง (ป่า)