ดูเพิ่ม: เคียว และ เคี่ยว

ภาษาไทย แก้ไข

การออกเสียง แก้ไข

การแบ่งพยางค์เคี้ยว
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงkíao
ราชบัณฑิตยสภาkhiao
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/kʰia̯w˦˥/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1 แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ɡiəwꟲ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨣ᩠ᨿ᩶ᩅ (คย้ว), ภาษาเขิน ᨣ᩠ᨿᩴ᩶ (คยํ้), ภาษาลาว ຄ້ຽວ (ค้ย̂ว), ภาษาไทลื้อ ᦵᦅᧁᧉ (เค้ว), ภาษาไทดำ ꪵꪁ꫁ꪫ (แก้̱ว), ภาษาไทขาว ꪵꪁꪫꫂ, ภาษาไทใหญ่ ၵဵဝ်ႉ (เก๎ว), ภาษาอาหม 𑜀𑜢𑜈𑜫 (กิว์)ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง keuxภาษาจ้วง geux

คำกริยา แก้ไข

เคี้ยว (คำอาการนาม การเคี้ยว)

  1. บดให้แหลกด้วยฟัน
    เคี้ยวหมากฝรั่ง

รากศัพท์ 2 แก้ไข

คำคุณศัพท์ แก้ไข

เคี้ยว (คำอาการนาม ความเคี้ยว)

  1. คด, โดยมากใช้เข้าคู่กับคำ คด เป็น คดเคี้ยว
    น้ำเคี้ยวยูงว่าเงี้ยว ยูงตาม
    (โลกนิติ)

ภาษาคำเมือง แก้ไข

การออกเสียง แก้ไข

คำกริยา แก้ไข

เคี้ยว (คำอาการนาม การเคี้ยว)

  1. (สกรรม) อีกรูปหนึ่งของ ᨣ᩠ᨿ᩶ᩅ (คย้ว)
    เคี้ยวเข้า
    เคี้ยวอาหาร