ภาษาไทย

แก้ไข

รากศัพท์ 1

แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับภาษาจ้วง hen, ภาษาจ้วงแบบจั่วเจียง hen

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์แหน
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงhɛ̌ɛn
ราชบัณฑิตยสภาhaen
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/hɛːn˩˩˦/(สัมผัส)

คำกริยา

แก้ไข

แหน (คำอาการนาม การแหน)

  1. หวง, มักใช้คู่กับคำ หวง เป็น หวงแหน
  2. (โบราณ) ปิด
    ตูจะให้สูงทั้งหลายฆ่า ว่าผู้ดูชาดูแคลน แหนความเราจงมิด ปิดความเราจงทั่ว

รากศัพท์ 2

แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *ʰneːᴬ; ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ແໜ (แหน), ภาษาไทลื้อ ᦶᦐ (แหฺน)

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์แหฺน
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงnɛ̌ɛ
ราชบัณฑิตยสภาnae
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/nɛː˩˩˦/(สัมผัส)

คำนาม

แก้ไข

แหน

  1. ชื่อไม้น้ำหลายชนิดในวงศ์ Lemnaceae ใบกลมเล็ก ๆ ลอยอยู่ตามน้ำนิ่ง เช่น แหนเล็ก (Lemna aequinoctialisWelw.) แหนใหญ่ [Spirodela polyrrhiza (L.) Schleid.], แหนแดง ก็เรียก.