ดูเพิ่ม: เผ่า และ เผ้า

ภาษาไทย แก้ไข

รากศัพท์ แก้ไข

สืบทอดจากภาษาไทตะวันตกเฉียงใต้ดั้งเดิม *pʰawᴬ¹, จากภาษาไทดั้งเดิม *prawᴬ; เทียบภาษาจีนยุคกลาง (MC baew, “อบ; เผา”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาคำเมือง ᨹᩮᩢᩣ (เผัา), ภาษาเขิน ᨹᩮᩢᩣ (เผัา), ภาษาอีสาน เผา, ภาษาลาว ເຜົາ (เผ็า), ภาษาไทลื้อ ᦕᧁ (เผา), ภาษาไทดำ ꪹꪠꪱ (เฝา), ภาษาไทขาว ꪹꪞꪱ, ภาษาไทแดง ꪹꪠꪱ, ภาษาไทใหญ่ ၽဝ် (ผว), ภาษาไทใต้คง ᥚᥝᥴ (เผ๋า), ภาษาอาหม 𑜇𑜧 (ผว์), ภาษาปักษ์ใต้ เพ่า, ภาษาจ้วง byaeu

การออกเสียง แก้ไข

การแบ่งพยางค์เผา
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงpǎo
ราชบัณฑิตยสภาphao
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/pʰaw˩˩˦/(สัมผัส)

คำกริยา แก้ไข

เผา (คำอาการนาม การเผา)

  1. (สกรรม) ทำให้ร้อนให้สุกหรือให้ไหม้เป็นต้นด้วยไฟ
    เผาเหล็ก
    เผากล้วย
    เผาป่า
  2. โดยปริยายหมายความว่า ทำให้ร้อน
    แดดเผา
  3. โดยปริยายหมายความว่า ทำให้เร่าร้อน
    กิเลสเผา
  4. โดยปริยายหมายความว่า ทำให้หมดไป
    เผากิเลส
  5. (ภาษาปาก, สแลง) เร่งทำงานอย่างลวก ๆ ไป
  6. (ภาษาปาก, สแลง) นินทา

คำประสม แก้ไข

ภาษาคำเมือง แก้ไข

การออกเสียง แก้ไข

คำกริยา แก้ไข

เผา (คำอาการนาม ก๋ารเผา หรือ ก๋านเผา)

  1. (สกรรม) อีกรูปหนึ่งของ ᨹᩮᩢᩣ (เผัา)

ภาษาอีสาน แก้ไข

คำกริยา แก้ไข

เผา (คำอาการนาม การเผา)

  1. (สกรรม) เผา