ดูเพิ่ม: บายฺู และ บ่าย

ภาษาไทย

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข
การแบ่งพยางค์บาย
การแผลงเป็น
อักษรโรมัน
ไพบูลย์พับบลิชชิงbaai
ราชบัณฑิตยสภาbai
(มาตรฐาน) สัทอักษรสากล(คำอธิบาย)/baːj˧/(สัมผัส)

รากศัพท์ 1

แก้ไข

ยืมมาจากภาษาเขมร បាយ (บาย, ข้าว)

คำนาม

แก้ไข

บาย

  1. ข้าว
ลูกคำ
แก้ไข

รากศัพท์ 2

แก้ไข

ยืมมาจากภาษาอังกฤษ bye (บาย, คู่แข่งที่ถอนตัว)

คำกริยา

แก้ไข

บาย

  1. (ภาษาปาก) ถอนตัวจากการแข่งขัน
    การแข่งขันวันนี้ผมบายเพราะป่วย
ลูกคำ
แก้ไข

รากศัพท์ 3

แก้ไข

ยืมมาจากภาษาอังกฤษ bye (บาย, ลาก่อน)

คำอุทาน

แก้ไข

บาย

  1. (ภาษาเด็ก) คำกล่าวแสดงการลา

คำกริยา

แก้ไข

บาย

  1. (ภาษาปาก, ภาษาเด็ก) บอกลา
  2. (ภาษาปาก) ไม่ยุ่งเกี่ยว, ไม่เกี่ยวข้อง
    ถ้ายุ่งกันอย่างนี้ ฉันท่าจะต้องบาย
    ม.นครพนม ปัญหาลามบานปลาย คณะบุคคลถอดใจขอบาย
ดูเพิ่ม
แก้ไข

ภาษาเขมรเหนือ

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

เทียบภาษาเขมร បាយ (บาย)

การออกเสียง

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

บาย

  1. ข้าวสุก

ภาษาญัฮกุร

แก้ไข

รากศัพท์

แก้ไข

ยืมมาจากภาษาไทย บ่าย

การออกเสียง

แก้ไข

คำนาม

แก้ไข

บาย

  1. บ่าย

ภาษาปักษ์ใต้

แก้ไข

คำกริยาวิเศษณ์

แก้ไข

บาย (คำอาการนาม ขว่ามบาย)

  1. สบาย