ภาษาญี่ปุ่น แก้ไข

รากศัพท์ 1 แก้ไข

คันจิในศัพท์นี้
どちら
ระดับ: 2 ระดับ: 2
จูกูจิกุง

คันจิชนิด จุกุจิกุง (熟字訓); ยืมจากภาษาจีน + (fāng)

การออกเสียง แก้ไข


คำสรรพนาม แก้ไข

何方(どちら) (dochira

  1. ทางใด?
  2. อันไหน? (จากตัวเลือกสองอย่าง)
การใช้ แก้ไข

โดยทั่วไปใช้การสะกดแบบฮิระงะนะ (どちら) ส่วนการสะกดแบบคันจิ (何方) ถูกใช้น้อยมาก

ดูเพิ่ม แก้ไข

รากศัพท์ 2 แก้ไข

คันจิในศัพท์นี้
どなた
ระดับ: 2 ระดับ: 2
จูกูจิกุง

คำสรรพนาม แก้ไข

何方(どなた) (donata

  1. ใคร? (สุภาพ)
การใช้ แก้ไข

โดยทั่วไปใช้การสะกดแบบฮิระงะนะ (どなた) มากกว่าการสะกดแบบคันจิ (何方)

คำพ้องความ แก้ไข

รากศัพท์ 3 แก้ไข

คันจิในศัพท์นี้
いずち
ระดับ: 2 ระดับ: 2
จูกูจิกุง

/iduti/ → /izuti/. ประกอบจากคำสรรพนามคำถาม いづ (izu) กับปัจจัยแสดงทิศทาง (chi) いづ +‎ หรือ いず +‎

คำสรรพนาม แก้ไข

何方(いずち) (izuchiいづち (iduti)?

  1. สรรพนามคำถามแสดงทิศทางไม่เจาะจง; ทางไหน, ทิศไหน, ที่ไหน
    • คริสตศตวรรษที่ 10 ตอนปลาย, Taketori Monogatari:
      「「龍の頚の玉取りえずは、歸り來な」とのたまへば、いづちいづちも、足の向きたらん方へいなむ。かゝるすき事をしたまふこと」と、そしりあへり。

ดูเพิ่ม แก้ไข

แม่แบบ:Classical Japanese pronouns and demonstratives

รากศัพท์ 4 แก้ไข

คันจิในศัพท์นี้
いず
ระดับ: 2
かた
ระดับ: 2
คุนโยมิ

การออกเสียง แก้ไข

คำสรรพนาม แก้ไข

(いず)(かた) (izukataいづかた (idukata)?

  1. ทิศทางใด
  2. ใคร

ดูเพิ่ม แก้ไข

แม่แบบ:Classical Japanese pronouns and demonstratives

อ้างอิง แก้ไข

  1. 1.0 1.1 1.2 2006, 大辞林 (Daijirin), Third Edition (in Japanese), Tōkyō: Sanseidō, →ISBN