ภาษาเขิน

แก้ไข

การออกเสียง

แก้ไข

รากศัพท์ 1

แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຊູ (ตกลงเป็นผัวเมียโดยไม่แต่งงานกัน), ภาษาคำเมือง ᨩᩪ (ชู), ภาษาไทลื้อ ᦋᦴ (ชู), ภาษาไทใหญ่ ၸူး (จู๊)

คำกริยา

แก้ไข

ᨩᩪ (ชู) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᨩᩪ)

  1. (สกรรม) ยอม, ยอมรับ
    คำพ้องความ: ᨿᩬᨾ (ยอม)

รากศัพท์ 2

แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับภาษาเขิน ᨩᩪ (ชู), ภาษาไทใหญ่ ၸူး (จู๊)

คำกริยา

แก้ไข

ᨩᩪ (ชู) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᨩᩪ)

  1. (สกรรม) ไปหา

รากศัพท์ 3

แก้ไข

อาจร่วมเชื้อสายกับภาษาไทใหญ่ ၸူး (จู๊, ส่วนแบ่ง)

คำกริยา

แก้ไข

ᨩᩪ (ชู) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᨩᩪ)

  1. (สกรรม) ให้
    คำพ้องความ: ᨸᩢ᩠ᨶ (ปัน), ᩉᩨ᩶ (หื้)

อ้างอิง

แก้ไข
  • ᨩᩣ᩠ᨿᨪᩮᨩᩮ᩠ᨾ. (n.d.). ᩋᨽᩥᨵᩤᨶᩈᩢ᩠ᨷᩅᩰᩉᩣ᩠ᩁᨸᩖᩯᨽᩣᩈᩣᨡᩨ᩠ᨶ.

ภาษาคำเมือง

แก้ไข

รูปแบบอื่น

แก้ไข
  • (ถอดอักษร) ชู
  • (ถอดเสียง) จู

การออกเสียง

แก้ไข

รากศัพท์ 1

แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับภาษาลาว ຊູ (ตกลงเป็นผัวเมียโดยไม่แต่งงานกัน), ภาษาเขิน ᨩᩪ (ชู), ภาษาไทลื้อ ᦋᦴ (ชู), ภาษาไทใหญ่ ၸူး (จู๊)

คำกริยา

แก้ไข

ᨩᩪ (ชู) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᨩᩪ)

  1. (สกรรม) ยอม, ยอมรับ
  2. (สกรรม) ตกลง
  3. (สกรรม) สมสู่
  4. (สกรรม) อยู่ด้วยกัน

รากศัพท์ 2

แก้ไข

ร่วมเชื้อสายกับภาษาเขิน ᨩᩪ (ชู), ภาษาไทใหญ่ ၸူး (จู๊)

คำกริยา

แก้ไข

ᨩᩪ (ชู) (คำอาการนาม ᨠᩣ᩠ᩁᨩᩪ)

  1. (สกรรม) ไปหา

อ้างอิง

แก้ไข
  • พจนานุกรมภาษาล้านนา = The Lanna dictionary (พิมพ์ครั้งที่ 2). (พ.ศ. 2550). เชียงใหม่: สถาบันภาษา ศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.