ᦌᦹᧈ
ภาษาไทลื้อ
แก้ไขการออกเสียง
แก้ไข- สัทอักษรสากล(คำอธิบาย): /sɯː˧/
รากศัพท์ 1
แก้ไขสืบทอดจากภาษาไทดั้งเดิม *zɤːᴮ (“ตรง”); ร่วมเชื้อสายกับภาษาไทย ซื่อ, ภาษาคำเมือง ᨪᩨ᩵ (ซื่), ภาษาเขิน ᨪᩨ᩵ (ซื่), ภาษาอีสาน ซื่อ หรือ ซือ, ภาษาลาว ຊື່ (ซื่), ภาษาไทดำ ꪏꪳ꪿ (ซึ่), ภาษาไทใหญ่ သိုဝ်ႈ (สึ้ว), ภาษาไทใต้คง ᥔᥪ (สื), ภาษาอาหม 𑜏𑜢𑜤𑜈𑜫 (สึว์), ภาษาจ้วง soh, ภาษาจ้วงแบบหนง swh
คำคุณศัพท์
แก้ไขᦌᦹᧈ (ซื่) (คำอาการนาม ᦩᦱᧄᦌᦹᧈ)
คำกริยาวิเศษณ์
แก้ไขᦌᦹᧈ (ซื่) (คำอาการนาม ᦩᦱᧄᦌᦹᧈ)
ลูกคำ
แก้ไขซื่อ, ตรง
- ᦺᦈᦌᦹᧈ (ไจซื่)
- ᦺᦈᦌᦹᧈᦺᦈᦙᦸᧈ (ไจซื่ไจม่อ̂)
- ᦶᦌᧆᦌᦹᧈ (แซดซื่)
- ᦌᦹᧈᦺᦉ (ซื่ไส)
- ᦌᦹᧈᦺᦉᦺᦓᦶᦈᧂᧉ (ซื่ไสไนแจ้ง)
- ᦌᦹᧈᦌᦹᧈ (ซื่ซื่)
| width=1% | |bgcolor="#F9F9F9" valign=top align=left width=48%|
- ᦌᦹᧈᦷᦍ (ซื่โย)
- ᦌᦹᧈᦐᦱᧉ (ซื่หฺน้า)
- ᦎᦱᧄᦌᦹᧈ (ตามซื่)
- ᦏᧁᧈᦶᦈᧂᧉᦟᧁᧈᦌᦹᧈ (เถ่าแจ้งเล่าซื่)
- ᦶᦟᧆᦌᦹᧈ (แลดซื่)
รากศัพท์ 2
แก้ไขคำนาม
แก้ไขᦌᦹᧈ (ซื่)
รากศัพท์ 3
แก้ไขคำกริยา
แก้ไขᦌᦹᧈ (ซื่) (คำอาการนาม ᦂᦱᧃᦌᦹᧈ)
ลูกคำ
แก้ไขทำเสียงฟ่อ
- ᦌᦹᧈᦷᦉᧇ (ซื่โสบ)
| width=1% | |bgcolor="#F9F9F9" valign=top align=left width=48%|